Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต -…
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต
และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
การแจ้งข่าวร้าย
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะต่อรอง (Bargaining)
ระยะซึมเศร้า (Depression)
ระยะโกรธ (Anger)
ระยะยอมรับ (Acceptance)
ระยะปฏิเสธ (Denial)
พยาบาลมีบทบาทดังนี้
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจ
ให้ผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
ยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติโดยไม่ตัดสิน
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การดำเนินโรค แนวทางการรักษา
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
ประเมินการรับรู้ของครอบครัว ความต้องการการช่วยเหลือ
อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
สะท้อนคิดให้ครอบครัวค้นหาเป้าหมายใหม่ในชีวิตอย่างมีความหมาย
จัดการกับอาการที่รบกวนผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับความสุขสบาย
ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยและญาติว่าจะให้การดูแลอย่างดีที่สุด
ทำหน้าที่แทนผู้ป่วยในการเรียกร้อง ปกป้องผู้ป่วยให้ได้รับประโยชน์ และปกป้องศักดิ์ศีรความเป็นมนุษย์
ผู้แจ้งข่าวร้าย
เป็นหน้าที่สำคัญของแพทย์ในการแจ้งข่าวร้ายนั้นมีข้อพิจารณาที่แพทย์
สามารถแจ้งแก่ญาติโดยไม่ต้องแจ้งแก่ผู้ป่วยโดยตรงในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นโรคทางจิตเป็นเด็กและผู้ป่วยที่มีแนวโน้มจะทำร้ายตนเองหากได้รับข่าวร้าย
ข่าวร้าย หมายถึง ข้อมูลที่ทำให้เกิดความรู้สึกหมดความหวัง มีผลกระทบต่อความรู้สึก การดำเนินชีวิต และอนาคตของบุคคลนั้น
การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต (End of life care in ICU)
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วย
ระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
Professional culture
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว
Multidisciplinary team
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มลูกละเลย
ทรัพยากรมีจำกัด
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
ความไม่แน่นอนของอาการ
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติ
ทีมสุขภาพที่ทำงานในไอซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
การดูแลแบบผสมผสาน
การปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาลนั้น ๆ มาร่วมดูแลในผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
หลักการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายใกล้ตาย
การประเมินสภาพ
สังคม คือ บทบาทของผู้ป่วยในครอบครัว ความรักความผูกพัน
วิญญาณ คือ ปรัชญาชีวิต
เป้าหมายชีวิต หรือคุณค่าทางด้านจิตใจ ความเชื่อทางศาสนา
จิตใจ คือ ภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และภาวะสับสน
ร่างกาย ได้แก่ ประเมินอาการไม่สุขสบาย ความสามารถในการทำกิจกรรมของผู้ป่วย
การประเมินระดับPalliative Performance Scale
แบบประเมิน PPS คือ ความสามารถในการเคลื่อนไหว กิจกรรมและความรุนแรงของโรค การดูแลตนเอง การกินอาหาร และความรู้สึกตัว
หลักการพยาบาลในการ
ดูแลผู้ป่วยระยะท้ายใกล้ตาย
การดูแลทั่วไป ความสะอาดร่างกาย ให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอกับความ ต้องการของร่างกาย
การดูแลด้านอารมณ์และสังคมของผู้ป่วยและครอบครัว
เป็นการช่วยเหลือดูแลด้านจิตใจ อารมณ์ และจิตวิญญาณ
การดูแลด้านจิตวิญญาณผู้ป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัว
สนับสนุนให้มีสถานที่หรือกิจกรรมส่งเสริมด้านจิตวิญญาณ
สอบถามและส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติตามศรัทธาความเชื่อ
ประเมินและบันทึกความต้องการทางจิตวิญญาณ
ดูแลให้ได้รับการประชุมครอบครัว
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ คือ การใส่ใจประเมินอาการและจัดการอาการไม่สุขสบายอย่างเต็มที่
ให้ผู้ป่วยและญาติเข้าถึงการวางแผนการดูแลล่วงหน้า
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต
การสื่อสาร
มีความเห็นใจครอบครัว
บทสนทนาควรเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วยมากกว่าโรค
ฟังอย่างตั้งใจและให้เสนอความคิดเห็น
ปล่อยให้มีช่วงเงียบ เพื่อให้ญาติได้ทบทวน
หลีกเลี่ยงคำศัพท์แพทย์
บอกการพยากรณ์โรคที่ตรงจริงที่สุด
ปิดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้งที่พูดคุยกับครอบครัว
มีแผ่นพับแนะนำครอบครัวถึงการเตรียมตัวก่อนทำการประชุมครอบครัว
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง
ประเด็นจริยธรรมที่สำคัญในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต การเจ็บป็วยระยะท้ายและภาวะใกล้ตาย
การยืดหรือการยุติการรักษาที่ยืดชีวิต
การจัดสรรทรัพยากรที่มีจำนวนจำกัด
การุณยฆาต/ปราณีฆาต/เมตตามรณะ
การบอกความจริง (Truth telling)
การฆ่าตัวตายโดยความช่วยเหลือของแพทย์
การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ
แนวคิดการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แนวคิดการดูแลแบบประคับประคอง(Palliative care)
เป็นการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบองค์รวมโดยครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม
และจิตวิญญาณโดยยึดตามความเชื่อทางด้านศาสนา วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีปฏิบัติของผู้ป่วยและครอบครัวเป็นสำคัญเป็นการทำงานเป็นทีมแบบสวิชาชีพโดยมีผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
แนวคิดการดูแลตามทฤษฎีความสุขสบาย (comfort theory)
เน้นความสุขสบายที่เป็นผลลัพธ์ของการพยาบาล
กิจกรรมการดูแลที่ส่งเสริมความสุข
สบายของผู้ป่วยและครอบครัวตาทฤษฎี
การสอน แนะนำ เป็นพี่เลี้ยง (coaching) ได้แก่ ให้กำลังใจ ให้ข้อมูล ความหวัง ชี้แนะ รับฟังและช่วยเหลือ
อาหารด้านจิตวิญญาณ เช่น จินตบำบัด การนวด
มาตรฐานการพยาบาลเพื่อความสุขสบายเพื่อรักษาความสมดุลของร่างกาย
การดูแลแบบประคับประคองมุ่งให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบหรือ ตายดี
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางจริยธรรม
จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของพยาบาล
ให้ความรู้แก่พยาบาลในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
มีความเคารพซึ่งกันและกัน รู้จักขอบเขตหน้าที่
ของตน รับผิดชอบต่อความปลอดภัยของผู้รับบริการ