Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย, Crisis,…
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
Care delivery
Monitoring: early warning signs & E-response
Investigation
Risk management (general & clinical)
Flow (purpose-process-performance)
Co-ordination, Communication, Handover
Activate system
Inter & Intra transportation
Triage/ Specific triage/ Assessment
Evaluation, output, outcome
EMS (accessibility)
Improvement, Innovation, Integration
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จํากัด
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การดําเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดําเนินงานในภาพรวม
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ความหมาย
อุบัติเหตุ (Accident)
อุบัติการณ์ซึ่งเกิดขึ้น โดยไม่คาดหมายมาก่อน ทําให้เกิดการบาดเจ็บตายและการสูญเสียทรัพย์สินโดยที่เราไม่ต้องการ
ลักษณะทางคลินิก
ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาที
คลําชีพจรไม่ได้
ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
การเจ็บป่วยวิกฤต
การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทําให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง
การเจ็บป่วยวิกฤต
Critical
จะนํามาใช้ในผู้ป่วยอาการเพียบหนัก มีอาการรุนแรง หรือขั้นฉุกเฉิน มีอันตราย
นํามาใช้กับผู้ป่วยที่อยู่ในสภาวะที่มีสถานการณ์คับขัน เป็นจุดวิกฤตของการเป็นโรค ทําให้มีอาการดีขึ้น หรือตายได้ในทันที
กลุ่มอาการหนัก ต้องหามนอนหรือนั่งมาอาการแสดงยังคลุมเครือต้องใช้การตรวจอย่างละเอียด
กลุ่มอาการหนักมาก หรือสาหัสต้องการการรักษาโดยด่วนหรือช่วยชีวิตทันที
กลุ่มอาการไม่รุนแรง หากผู้ป่วยเดินได้อาจถือว่าอาการไม่หนัก
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน จําเป็นต้อง
ดําเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที
การพยาบาลสาธารณภัย
ภัยพิบัติ/สาธารณภัย (Disaster)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster)
สาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster)
ภัยที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากการกระทําของมนุษย์แล้วก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต เกิดความสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สิน สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
ภัย (Hazard)
หตุการณ์หรือปรากฏการณ์ใดๆที่สามารถที่ทําให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ความเสียหายต่อทรัพย์สินความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ (Natural Disaster)
เกิดแบบฉับพลัน และเกิดแบบค่อยเป็นค่อยไป
เกิดอย่างจงใจและเกิดอย่างไม่จงใจ
ความรุนแรงระดับที่ 1
สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก
ความรุนแรงระดับที่ 2
สาธารณภัยขนาดกลาง
ความรุนแรงระดับที่ 3
สาธารณภัยขนาดใหญ;
ความรุนแรงระดับที่ 4
สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงยิ่ง
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ได้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่จําเป็นต้องมีมาตรฐานความรู้ในการประเมินสถานการณ์ รายงานข้อมูล และการตอบสนองต่อผู้ที่ได้รับผลกระทบ
เป็นการพยาบาลที่ต้องนําความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉิน มาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ที่เกิดสาธารณภัยทั้งในระยะก่อนเกิด ขณะเกิด และหลังเกิดภัย
Multiple casualties
จำนวนและความรุนแรงของผู้ป่วยไม่เกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะคุกคามต่อชีวิต (life Threatening)
จํานวนและความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลและทีมผู้รักษา
ต้องนําความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉินมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติ
เป็นการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันและลดความรุนแรง มุ่งเน้นด้านการพยาบาลฉุกเฉินแก่ผู้ประสบภัย การฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ประสบภัยและญาติ
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากสาธารณภัย
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
การบรรเทาภัย (Mitigation)
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
มีความรู้ด้านสาธารณภัย มีความสามารถในการประเมินสถานการณ์และคาดการณ์ถึงปัญหาสุขภาพที่จะเกิด
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี มีความเปfนผู้นํา และสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มีความรู้ทางการพยาบาลและมีประสบการณ์การปฏิบัติงานการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินและวิกฤต
มีทักษะในการสื่อสาร และการบันทึกข้อมูลต่างๆได้อย่างถูกต้องครบถ้วนชัดเจน
มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต เช่น การทําแผล
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
เพื่อช่วยชีวิต เช่น ผู้ป่วยที่มีภาวะหยุดหายใจ
การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้ว
แนวคิด
Franco-German Model (FGM)
Anglo-AmericanModel (AAM)
หลักการดูแลผู7บาดเจ็บ (Trauma life support)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤต หอผู้ป่วย การฟื้นฟู
การดูแลรักษาในโรงพยาบาลตั้งแต่การคัดแยก ระบบทางด่วนฉุกเฉิน การวินิจฉัย การรักษาตามความเร่งด่วน
ซึ่งทุกขั้นตอนจะต้องกระทําถูกต้องตามหลักวิชาชีพและมีประสิทธิภาพ
ต้องคํานึงถึงความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อมเป็นอันดับแรก (scene safety)
มีบุคลากรที่เปfนบุคลากรที่ได้รับการอบรมให้ความรู้ความสามารถ ในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ การช้วยฟื้นคืนชีพ
การจัดให้มีการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ
การฟื้นฟูสภาพและการส่งต่อ (Rehabilitation& transfer)
การส่งกลับไปยังโรงพยาบาลเดิมหรือต้นสังกัดเมื่ออาการดีขึ้น
เป็นการส่งต่อในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงเกินความสามารถในการรักษา
การดูแลต่อเนื่องในรายที่พบปัญหาหรือต้องได้รับการฟื้นฟูเพื่อให้มีคุณภาพชีวิต
การเข้าถึงช่องทางสําหรับการติดต่อในการแจ้งเมื่อมีเหตุเกิดขึ้น
เป็นการมีส่วนร่วมในการดูแลผู้บาดเจ็บ
มีส่วนช่วยเหลือให้ผู้บาดเจ็บได้รับการรักษาดูแลได้ในเวลาอันรวดเร็ว
มีศูนย์รับแจ้งเหตุและศูนย์สั่งการเพื่อติดต่อประสานงาน
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
การประเมินสภาพร่างกายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บอย่างละเอียด (Secondary Survey)
History
Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Event/ Environment related to injury อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย้างไร รุนแรงเพียงใด สถานการณ์สิ่งแวดล้อมขณะเกิดเหตุเป็นอย่างไร
Past illness/ Pregnancy การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
Blunttrauma ส่วนใหญ่เกิดจากอุบัติเหตุจราจร พลัดตกจากที่สูง
Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
Penetrating traumaเกิดจากอาวุธปdน มีด ปัจจัยที่กําหนดชนิดและความรุนแรงของการบาดเจ็บ
Allergies ประวัติการแพ้ยา สารเคมีหรือวัตถุต่างๆ
Abdomen ในผู้ป่วยที่บาดเจ็บและเกิดภาวะ Shock ให้สงสัยการบาดเจ็บในช่องท้องและมีการเสียเลือดเกิดขึ้น
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessmentการบาดเจ็บแขนขาจะประเมินบาดแผล การหักงอ บวมผิดรูป ประเมินจุดที่เจ็บ
Facial ควรคลํากระดูกใบหน้าให้ทั่วเพื่อหา deformity
Pelvic fracture จะตรวจพบ Ecchymosis บริเวณ Iliac wing, Pubis, Labia หรือ Scrotum
Head ในการตรวจหนังศีรษะให้ใช้มือคลําให้ทั่วหนังศีรษะเพื่อหาบาดแผล
Neurological system เป็นการตรวจระบบประสาทและสมองอย่างละเอียด
Reevaluation มีการประเมินร่างกายซ้ําเป็นระยะๆ เพื่อประเมินหาการบาดเจ็บที่อาจตรวจไม่พบในระยะแรก และเป็นการติดตามการเปลี่ยนแปลงอาการของผู้ป่วย
Chest การตรวจจะเริ่มจากการมองหารอยช้ํา รอยยุบคลําดูว่ามี Crepitus หรือเจ็บที่จุดใด
Cervical spine and Neck ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวทุกรายที่มีการบาดเจ็บศีรษะควรคํานึงถึง cervical spine injury
การกู้ชีพ (Resuscitation)
การแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตหรือที่เป็นอันตรายเร่งด่วน
Airway ภายหลังจากการประเมินการทํา Definitive airway ในผู้บาดเจ็บที่มีปัญหาการหายใจ
Breathing ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับออกซิเจนเสริมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ
Circulation การห้ามเลือดเปfนสิ่งจําเป็นอย่างยิ่งในผู้บาดเจ็บโดยทําร่วมกับการให้สารน้ําทดแทน
อย่างน้อยควรเปิดหลอดเลือดดําด้วยเข็มขนาดใหญ่และสั้น 2 เส้น เบอร์ 18,16,14
หลีกเลี่ยงแทงเส้นใต้ตําแหน่งของแขนขาที่ได้รับบาดเจ็บ
หลีกเลี่ยงการให้สารน้ําที่ขาเพราะจะทําให้สารน้ําไหลรั่วเข้าช่องท้อง
ไม่ควรให้เลือดร่วมกับ Lactated Ringer's solution, acetar
ให้สารน้ําที่เป็น Balance salt solution
หากอาการทรุดลง ไม่ตอบสนองพิจารณาการให้เลือดกรุ๊ป โอ
หลังได้รับสารน้ําหรือเลือดควรประเมินการตอบสนองต่อสารน้ํา
การรักษาผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บภายหลังได้รับการช่วยเหลือขั้นต้นแล้ว (Definitive Care)
เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพโดยตรง
เป็นการรักษาจําพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ ได้แก่การผ่าตัดเพื่อแก้ไขภาวะฉุกเฉินต่างๆ
Intra-abdominal bleeding
multiple organ injury
Intracranial hematoma
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทํา secondary survey เรียบร้อยแล้ว
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
Circulation and Hemorrhage control
สามารถประเมินได้จาก
อาการทางระบบประสาท, ผิวหนัง, หัวใจและหลอดเลือด, ระบบหายใจ, ระบบทางเดินปัสสาวะ, ระบบทางเดินอาหาร, ภาวะกรดด่างของร่างกาย, การตรวจประเมินรูม่านตา
เป็นการประเมินในระบบไหลเวียนและการห้ามเลือด โดยประเมินจากสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว สีผิว อุณหภูมิ รวมถึงปริมาณเลือดที่ออกจากบาดแผล
ที่ต้นขา
ในอุ้งเชิงกราน
ในช่องท้อง
ในช่องอก
Disability: Neurologic Status เป็นการประเมินระบบประสาทต่อว่าสมองหรือไขสันหลังได้รับบาดเจ็บหรือไม่
Exposure / Environment control ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหนัก ควรถอดเสื้อผ้าออกให้หมดเพื่อค้นหาการบาดเจ็บต่างๆอื่นๆในผู้ป่วยที่บาดเจ็บหนักอาจใช้กรรไกรในการตัดเสื้อและกางเกงออกเพื่อจะได้ตรวจร่างกายอย่างถูกต้อง
เป็นการประเมินการช่วยหายใจและการระบายอากาศเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนอากาศ
ปัญหาการหายใจที่พบบ่อย
tension pneumothorax, Flail chest with pulmonary contusion, Open pneumothorax, Hemothorax
ประเมิน
การเปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก คลํา การเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
เปิดทางเดินหายใจให้โล่งโดยใช้วิธีการ Head-tilt Chin-lift
เริ่มต้นจากการประเมิน Airway เพื่อหาอาการที่เกิดจากทางเดินหายใจอุดกั้น (Airway obstruction) ควรรวมไปถึงการดูดเสมหะ
กรณีผู้ป่วยที่สงสัยหรือได้รับอุบัติเหตุให้ทําการเปิดทางเดินหายใจด้วยวิธี jaw-thrust maneuver, modified jaw thrust, Triple airway maneuver โดยต้องป้องกันการบาดเจ็บของ Cervical spine ตลอดเวลา
การใส่ Endotracheal tube ทางจมูก มีข้อดีคือไม่ต้องขยับคอในระหว่างการใส่ แต่ใส่ยาก
Crisis
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ผู้ป่วยวิกฤ
ผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัย
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ประเภทของภัยพิบัติ
ภัยที่เกิดจากมนุษยT(Man-made Disaster)
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข
อุบัติภัย
ประเภทของอุบัติภัยหมู่แบ่งตามขีดความสามารถของสถานพยาบาล
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
Mass casualties
พยาบาลกับการจัดการสาธารณภัย
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์สาธารณภัย
คุณสมบัติพยาบาลสําหรับจัดการสาธารณภัย
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สําหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน (Fast track)
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การเข้าถึงหรือรับรู้วา่มีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
Airway maintenance with cervical spine protection
Breathing and Ventilation
ตำแหน่งที่เสียเลือด
การให้สารน้ําและเลือด
Physical Examination
นางสาวชนาพร พนาสง่าวงศ์ เลขที่ 18 6101210439 sec.A