Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด
(1) Anglo-AmericanModel(AAM)
(2) Franco-German Model (FGM)
ความหมาย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน จําเป็นต้องดําเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที
การเจ็บป่วยวิกฤต
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤต
Critical
อาการหนักมีอาการรุนแรง หรือขั้นฉุกเฉิน มีอันตราย
Crisis
ป่วยในสภาวะนี้มีโอกาสของความเป็นความตายได้เท่ากัน
อุบัติเหตุ (Accident)
อุบัติการณ์ซึ่งเกิดขึ้น โดยไม่คาดหมายมาก่อน ทําให้เกิดการบาดเจ็บตาย
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า30ครั้งต่อนาที หายใจลําบากหรือหอบเหนื่อย
คลําชีพจรไม่ได้ หรือชีพจรช้ากว่า 40หรือเร็วกว่า30 ครั้ง/นาที
ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
ความดันโลหิตSystolicต่ํากว่า80มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว่า 130มม.ปรอท
ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
มือเท้าซีดเย็น เหงื่อออกมาก
อุณหภูมิของร;างกายต่ํากว่า35 เซลเซียส หรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
ถูกพิษจากสัตว์ เช่น งู หรือสารพิษชนิดต่างๆ
ผู้ป่วยวิกฤตมีลักษณะดังนี้
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา
ผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัย
กลุ่มอาการไม่รุนแรง
กลุ่มอาการหนัก ต้องหามนอนหรือนั่ง
กลุ่มอาการหนักมาก หรือสาหัสต้องการการรักษาโดยด่วน
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
เพื่อช่วยชีวิต
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วย
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาลพ.ศ.2552
ดําเนินการแก้ไขปัญหาที่กําลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
ค้นหาสาเหตุและ/หรือปัญหาที่ทําให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ แล้วดําเนินการแก้ไข
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสําคัญของร่างกายให้คงไว้
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
6.ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
การพยาบาลสาธารณภัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster)
ประเภทของภัยพิบัติ
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ (Natural Disaster)
ภัยที่เกิดจากมนุษยT(Man-made Disaster)
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข
ระดับที่ 1 : สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก อําเภอสามารถจัดการได้ตามลําพัง
ระดับที่ 2 : สาธารณภัยขนาดกลาง ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ระดับที่ 3 : สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง
ความรุนแรงระดับที่ 4 : สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงยิ่ง
อุบัติภัย
ประเภทของอุบัติภัย
Multiple casualties
2.Mass casualties
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
1.การบรรเทาภัย (Mitigation)
2.การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
3.การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
4 การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
5การบูรณะฟื้นฟู (Recovery) เป็นระยะสุดท้ายในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
พยาบาลกับการจัดการสาธารณภัย
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
D –Detection คือ การประเมินสถานการณ์ว่าเกินกําลังหรือไม่
I -Incident command คือ ระบบการบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S –Safety and Security คือ การประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A –Assess Hazards คือ การประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆ
S –Support คือ การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็น
T –Triage/Treatment คือ การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย
E –Evacuation คือ การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R –Recovery คือ การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์สาธารณภัย
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชนที่
ต้องนําความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉินมาประยุกต์ใช้
ป้องกันและลดความรุนแรง
มุ่งเน้นด้านการพยาบาลฉุกเฉินแก่ผู้ประสบภัยจํานวนมาก
การฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ
คุณสมบัติพยาบาลสําหรับจัดการสาธารณภัย
มีความรู้ทางการพยาบาลและมีประสบการณ์การปฏิบัติงานการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินและวิกฤต
มีความรู้ด้านสาธารณภัย
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี มีความเป็นผู้นํา และสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
มีทักษะในการสื่อสาร และการบันทึกข้อมูลต่างๆ
มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สําหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
การประเมินเบื้องต้น
การรายงานแพทย์ผู้รักษา
การประสานงาน
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
ให้การดูแลตามแผนการรักษา
ติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
ให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติ
การดําเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดําเนินงานในภาพรวม
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน (Fast track)
1.EMS (accessibility)
2.Triage/ Specific triage/ Assessment
3.Activate system
4.Flow (purpose-process-performance)
5.Investigation
6.Care delivery
7.Monitoring: early warning signs & E-response
8.Risk management
9.Co-ordination
10.Inter & Intra transportation
11.Evaluation, output, outcome
12.Improvement, Innovation, Integration
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
. การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การฟื้นฟูสภาพและการส่งต่อ (Rehabilitation& transfer)
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น ประกอบด้วย
การประเมินผูู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
Airway maintenance with cervical spine protection
ประเมิน Airway ,เปิดทางเดินหายใจให้โล่งกรณีผู้ป่วยที่สงสัยหรือได้รับอุบัติเหตุให้ทําการเปิดทางเดินหายใจด้วยวิธี jaw-thrust maneuver, modified jaw thrust, Triple airway maneuver
Breathing and Ventilation
การช่วยหายใจและการระบายอากาศประเมินจาก 1.การเปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
2.ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก 3.คลํา การเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ 4.ฟังBreath sound ทั้งสองข้าง
Circulation and Hemorrhage control
อาการทางระบบประสาท ผิวหนัง หัวใจและหลอดเลือด ระบบหายใจ ระบบทางเดินัสสาวะ ระบบทางเดินอาหาร ภาวะกรดด่างของร่างกาย
4 Disability: Neurologic Status
ประเมินระบบประสาทต่อว่าสมองหรือไขสันหลังได้รับบาดเจ็บหรือไม่ ประเมินจากAVPU Scale หรือการใช้ CPOMR Scale ได้แก่ Level of conscious, pupil, ocular movement, motor, respiration หรือ Revision trauma scale
5 Exposure / Environment control
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหนัก ควรถอดเสื้อผ้าออกให้หมดเพื่อค้นหาการบาดเจ็บต่างๆ การพลิกตะแคงตัวผู้บาดเจ็บแบบท่อนซุง (Log roll)
การกู้ชีพ
การแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตหรือที่เป็นอันตรายเร่งด่วน โดยการกู้ชีพจะทําหลังจากการประเมิน เป็นลําดับของ ABC และสามารถทําไปพร้อมๆกับการประเมิน
Resuscitation ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตที่อาจทําให้เสียชีวิตได้
ควรมีการประเมินร่างกายซ้ําเป็นระยะๆ เพื่อประเมินหาการบาดเจ็บที่อาจตรวจไม่พบในระยะแรก และเป็นการติดตามการเปลี่ยนแปลงอาการของผู้ป่วย
Secondary surveyตรวจร่างกายอย่างละเอียดหลังจากผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตแล้ว
History ,Physical Examination
Definitive careรักษาหลังจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นแล้ว
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทํา secondary survey เรียบร้อยแล้ว เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพโดยตรง เป็นการรักษาจําพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ