Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด และหลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย, นางสาวกุลจิรา…
แนวคิด และหลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด
Anglo-American Model (AAM)
ปรัชญา
“Scoop and run” เวลาในการประคับประคองที่เกิดเหตุสั้น
นำส่งสถานพยาบาลเร็วที่สุด
บุคลากร
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแล
ปลายทาง
ลำเลียงผู้ปู่วยส่งตรงห้องฉุกเฉิน
การเชื่อมต่อองค์กร
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นส่วนหนึ่งขององค์การความปลอดภัยสาธารณะ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
รถ Ambulance เป็นหลัก
ใช้ Aero-medical /Coastal ambulance
องค์การที่เกี่ยวข้อง
องค์การที่เกี่ยวข้องการบริการความปลอดภัยของสาธารณะ เช่น ตำรวจ สถานีดับเพลิง
ค่าใช้จ่าย
สูงกว่า FGM
จำนวนผู้ป่วย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้นำส่งโรงพยาบาล
เพียงจำนวนน้อยที่ได้รับการดูแล ณ จุดเกิดเหตุ
Franco-German Model (FGM)
ปรัชญา
“Stay and Stabilize” ดูเเลในสถานที่เกิดเหตุก่อนนำส่งโรงพยาบาล
บุคลากร
แพทย์ให้การดูแลโดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วย
ปลายทาง
ลำเลียงผู้ปู่วยส่งหน่วยเฉพาะทาง
การเชื่อมต่อองค์กร
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นส่วนหนึ่งขององค์การสาธารณสุข
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
Ambulance, Helicopter และ Coastal ambulance
องค์การที่เกี่ยวข้อง
ภายใต้บริการจะเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพ
ค่าใช้จ่าย
ต่ำกว่า AAM
จำนวนผู้ป่วย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการดูแล ณ จุดเกิดเหตุ
เพียงจำนวนน้อยที่นำส่งโรงพยาบาล
ความหมาย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน
จำเป็นต้องดำเนินการช่วยเหลือ และรักษาทันที
การเจ็บป่วยวิกฤต
Crisis care
ใช้กับผู้ป่วยที่อยู่ในสภาวะที่มีสถานการณ์คับขัน
ทำให้มีอาการดีขึ้น หรือตายได้ในทันที
เพื่อช่วยชีวิต การรักษาเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏอันตราย
เพื่อแก้ไขภาวะล้มเหลว หรือรักษาสภาพการทำงานของระบบนั้น
Critical Care
นำมาใช้ในผู้ป่วยอาการหนัก มีอาการรุนแรง
เพื่อดำรงรักษาชีวิต เน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏในครั้งแรก
ป้องกันไม่ให้เข้าสู่ภาวะคับขัน ให้ความสำคัญกับทุกระบบ
การเจ็บป่วยวิกฤต
การเจ็บป่วยที่รุนแรงถึงขั้นถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
อุบัติเหตุ (Accident)
อุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น โดยไม่คาดหมายมาก่อน
ทำให้เกิดการบาดเจ็บตายและการสูญเสียทรัพย์สินที่ไม่ต้องการ
สถานที่เกิดเหตุ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันรักษา
อุบัติภัยจากการจราจร (Traffic Accident)
อุบัติภัยจากการทำงาน (Occupational Accident)
อุบัติภัยภายในบ้าน (Home or Domestic Accident)
อุบัติภัยในสาธารณสถาน (Public Accident)
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
อาการหนักรุนแรงต้องการดูแลจากเจ้าหน้าที่
ที่มีความชำนาญเฉพาะทาง
เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะคุกคามชีวิต
ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาที
คลำชีพจรไม่ได้
ความดันโลหิต S < 80 mmHg/ D >130 mmHg
ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
มือเท้าซีดเย็น เหงื่อออกมาก
อุณหภูมิของร่างกาย< 35 เซลเซียส
ถูกพิษจากสัตว์
ผู้ป่วยวิกฤต
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้
ผู้ป่วยที่หมดสติ ระบบหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง
ผู้ป่วย Septic Shock
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง
myocardialin farction เฝ้าระวังอาการอย่างใกล้ชิด
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง
ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
ผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัย
กลุ่มอาการไม่รุนแรง
เดินได้ อาการไม่หนัก
กลุ่มอาการหนัก
ต้องใช้การตรวจอย่างละเอียด
กลุ่มอาการหนักมาก
รักษาโดยด่วนหรือช่วยชีวิตทันที
หมดหวังในการรักษา
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักการพยาบาล
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากยานพาหนะไปห้องพยาบาลอย่างนุ่มนวล
มีการซักประวัติการเจ็บป่วยและอาการสำคัญอย่างละเอียด
ทำการคัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยำ
ให้การรักษาพยาบาลภายใต้นโยบายของโรงพยาบาล
ให้การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
ให้การดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
มีการนัดหมายผู้ป่วยให้การรักษาต่อเนื่อง
มีการส่งต่อเพื่อรักษาในสถานพยาบาลอื่น
หลักทั่วไปในการพยาบาล
เพื่อช่วยชีวิต
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้น
หลักการพยาบาลของสภาการพยาบาล พ.ศ. 2552
ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่กำลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
ค้นหาสาเหตุแล้วดำเนินการแก้ไข
ดูแลและรักษาผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสำคัญของร่างกาย
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
การพยาบาลสาธารณภัย
ภัยพิบัติ (Disaster)
การจัดระดับความรุนแรง
ระดับที่ 1 : สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก
ระดับอำเภอสามารถจัดการได้ตามลำพัง
ระดับที่ 2 : สาธารณภัยขนาดกลาง
ระดับอำเภอไม่สามารถจัดการได้ อาศัยความช่วยเหลือจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ระดับที่ 3 : สาธารณภัยขนาดใหญ่
อาศัยการสนับสนุนจากหน่วยงานหลายส่วน
จังหวัดไม่สามารถควบคุมได้
ระดับที่ 4 : สาธารณภัยขนาดใหญ่
ดำเนินการควบคุมกรณีที่ได้รับมอบหมายจากนายกฯ
ประเภทของภัยพิบัติ
เกิดจากธรรมชาติ
(Natural Disaster)
เกิดอย่างจงใจและเกิดอย่างไม่จงใจ
เกิดจากมนุษย์
(Man-made Disaster)
เกิดแบบฉับพลัน
เกิดแบบค่อยเป็นค่อยไป
อุบัติภัยหมู่
(Mass cassualties)
อุบัติเหตุที่เกิดกับคนจำนวนมาก
เกินขีดความสามารถที่โรงพยาบาลจะให้การรักษาพยาบาลได้
ลักษณะสำคัญ
เกิดการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยของประชาชนจำนวนมาก
มีการทำลายของทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรที่มีอยู่ในภาวะปกติไม่เพียงพอ
ระบบและกลไกปกติของสังคมถูกทำลาย
ประเภทของอุบัติภัยหมู่
Multiple casualties
ความรุนแรงของผู้ป่วยไม่เกินขีดความสามารถของโรงพยาบาล
ผู้ป่วยที่มีภาวะคุกคามต่อชีวิตได้รับการรักษาก่อน
Mass casualties
ความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาล
ผู้ป่วยที่มีโอกาสรอดชีวิตมากที่สุดจะได้รับการรักษาก่อน
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การบรรเทาภัย (Mitigation)
ลดหรือกำจัดโอกาสในการเกิด หรือลดผลกระทบของการเกิดภัยพิบัติ
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การรองรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน
เตรียมคน แผนที่ อบรมความรู้และทักษะ ซ้อมแผนและทรัพยากรที่จำเป็น
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
ดำเนินการทันเมื่อเกิดภัยโดยยึดตามหลัก CSCATT
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
จัดให้มีระบบเฝ้าระวังภายใน 5 วันหลังภัยพิบัติ
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
จัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
เน้นให้มีระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
ส่งมอบภารกิจให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ฟื้นฟูทางด้านจิตใจของผู้ประสบภัยและครอบครัว
พยาบาลกับการจัดการสาธารณภัย
นำความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและการพยาบาลฉุกเฉินมมาประยุกต์ใช้
เพื่อป้องกันและ/หรือ ลดความสูญเสียที่จะเกิดกับชีวิตและทรัพย์สิน
ฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ประสบภัยและญาติ
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
D (Detection) การประเมินสถานการณ์
I (Incident command) ระบบการบัญชาเหตุการณ์ ดูภาพรวมทั้งหมด
S (Safety and Security) การประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน
A (Assess Hazards) การประเมินสถานที่เกิดเหตุ
S (Support) การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จำเป็น
T (Triage/Treatment) การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วน
E (Evacuation) การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R (Recovery) การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
ลักษณะของการ
ปฏิบัติการพยาบาล
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพ
ของประชาชน
ต้องนำความรู้และทักษะประยุกต์ใช้ใน
สถานการณ์ภัยพิบัติ
เป็นการปฏิบัติการพยาบาล
ป้องกันและลดความรุนแรงของการบาดเจ็บ
มุ่งเน้นด้านการพยาบาลฉุกเฉินแก่ผู้ประสบภัย
การฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของผู้
ประสบภัยและญาติ
คุณสมบัติพยาบาล
มีความรู้ทางการพยาบาลและมีประสบการณ์การปฏิบัติงาน
มีความรู้ด้านสาธารณภัย มีความสามารถในการประเมินสถานการณ์
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี มีความเป็นผู้นำ
มีทักษะในการสื่อสาร และการบันทึกข้อมูลต่างๆ
มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์
ระบบทางด่วน
(Fast track/Pathway system)
ช่วยนำผู้ป่วยให้เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างทันเวลา
ลดระยะเวลาการรักษาในผู้ป่วยกลุ่มอุบัติเหตุ
ลดอัตราการเสียชีวิต ทุพพลภาพ และความพิการ
ระบบทางด่วนสำหรับผู้ป่วยอุบัติเหตุ (Trauma fast track)
ระบบทางด่วนสำหรับผู้ป่วยเจ็บหน้าอก (Chest pain fast track)
ระบบทางด่วนสำหรับผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง (Stroke fast track)
หลักการ
การจัดทำควรเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ
จัดทำแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย พร้อมกำหนดลักษณะผู้ป่วย
จัดทำแนวปฏิบัติ ลำดับการปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
จัดทำรายการตรวจสอบ (check list) ในการลงข้อมูล
ฝึกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้
แผนการปฏิบัติต้องเน้นย้ำเวลาเป็นสำคัญ
กำหนด clinical indicator เพื่อการติดตามและประเมินผล
บทบาทพยาบาล
การประเมินเบื้องต้น
การรายงานแพทย์ผู้รักษา
การประสานงาน
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้การดูแลตามแผนการรักษา
ติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
ให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติ
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์
การจัดระบบให้มีการทบทวน
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ
(Trauma life support)
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ
(Trauma care system)
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่า
มีเหตุเกิดขึ้น (Access)
ช่องทางสำหรับการติดต่อในการแจ้งเมื่อมีเหตุเกิดขึ้น
ทุกพื้นที่ต้องสามารถเข้าถึงระบบหรือช่องทางนี้ได้
มีส่วนร่วมในการดูแลผู้บาดเจ็บและมีส่วนช่วยเหลือ
ต้องมีหมายเลขฉุกเฉินหมายเลขเดียวใช้ได้ทั่วประเทศ
การดูแลในระยะก่อนถึง
โรงพยาบาล (Prehospital care)
บุคลากรที่ได้รับการอบรมให้ความรู้ความสามารถ
ช่วยเหลือ ฟื้นคืนชีพ จำแนกผู้บาดเจ็บ รักษาเบื้องต้น
คำนึงถึงความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อมอันดับแรก (scene safety)
ประสานงานกับโรงพยาบาลอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง
การดูแลในระยะที่อยู่
โรงพยาบาล (Hospital care)
ดูแลรักษาในโรงพยาบาลตั้งแต่การคัดแยก
ทุกขั้นตอนต้องทำถูกต้องตามหลักวิชาชีพและมีประสิทธิภาพ
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ
(Rehabilitation & transfer)
ดูแลต่อเนื่องในรายที่พบปัญหาหรือต้องได้รับการฟื้นฟู
ส่งต่อในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงเกินความสามารถ
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับ
บาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
Airway maintenance with
cervical spine protection
ประเมิน Airway หาอาการที่เกิดจากทางเดินหายใจอุดกั้น (Airway obstruction)
ดูดเสมหะ สิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ กระดูกใบหน้าแตก
เลือดออกในช่องปากและทางเดินหายใจส่วนบน
เปิดทางเดินหายใจให้โล่งโดยใช้วิธีการ Head-tilt Chin-lift
ทำการเปิดทางเดินหายใจด้วยวิธี jaw-thrust maneuver
ควรมีการประเมินซ้ำเป็นระยะ
การใส่ Endotracheal tube ทางจมูก ห้ามใส่เมื่อใบหน้าบาดเจ็บ
tracheotomy ไม่นิยมทำในภาวะฉุกเฉิน
Breathing and Ventilation
ช่วยหายใจและการระบายอากาศให้มีการ
แลกเปลี่ยนอากาศ
ควรเปิดให้เห็นบริเวณคอและทรวงอก
พยาบาลควรประเมิน
เปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
คลำ การเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ
ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
Circulation and
Hemorrhage control
ประเมินในระบบไหลเวียนและการห้ามเลือด
ประเมินจากสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว
ค้นหาภาวะ Shock จากการสูญเสียเลือด
Disability: Neurologic Status
ประเมินระบบประสาทต่อสมองหรือไขสันหลัง
พยาบาลควรประเมินจากระดับความรู้สึกตัวตั้งแต่แรกรับ
ประเมินจาก AVPU Scale
A (Alert) ผู้บาดเจ็บรู้สึกตัวดี
V (Voice) ตอบสนองต่อเสียงเรียก
P (Painful stimuli) ตอบสนองเมื่อกระตุ้นด้วยความปวด
U (Unresponsive) ไม่มีปฏิกิริยาตอบสนองเลย
Exposure /
Environment control
ควรถอดเสื้อผ้าออกให้หมดเพื่อค้นหาการบาดเจ็บต่างๆ
บาดเจ็บหนักอาจใช้กรรไกรในการตัดเสื้อและกางเกงออก
ขณะตรวจในห้องควรจะอบอุ่น ป้องกันภาวะ Hypothermia
ทำการพลิกตะแคงตัวผู้บาดเจ็บแบบท่อนซุง (Log roll)
เป็นการป้องกันการได้รับบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง
ตรวจ bulbocarvernosus reflex ใช้นิ้วมือสอดเข้าไปในทวารหนัก
การกู้ชีพ
(Resuscitation)
ประเมินเป็น
ลำดับของ ABC
Airway หลังการประเมิน ทำ Definitive airway
สามารถรักษาได้โดยการใส่ท่อช่วยหายใจ
ควรกระทำแต่เริ่มต้นหลังจากที่ช่วยหายใจด้วยออกซิเจน
Breathing ผู้บาดเจ็บควรได้รับออกซิเจนหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ
ผู้บาดเจ็บควรได้รับออกซิเจนผ่านหน้ากาก (reservoir face mask)
ติดตามระดับความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด
Circulation การห้ามเลือดเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในผู้บาดเจ็บ
ทำการเปิดเส้นเลือดแล้วควรเก็บเลือดส่งตรวจ
การให้สารน้ำในปริมาณมากอาจไม่ได้ทดแทนการห้ามเลือดได้
การให้สารน้ำและเลือด
อย่างน้อยควรเปิดหลอดเลือดดำด้วยเข็มขนาดใหญ่และสั้น 2 เส้น
หลีกเลี่ยงแทงเส้นใต้ตำแหน่งของแขนขาที่ได้รับบาดเจ็บ
มีเลือดออกในช่องท้อง หลีกเลี่ยงการให้สารน้ำที่ขา
ให้สารน้ำที่เป็น Balance salt solution
หากอาการทรุดลงให้เลือดทุกหมู่ได้ตามแผนการรักษา
ไม่ควรให้เลือดร่วมกับ Lactated Ringer's solution
หลังได้รับสารน้ำหรือเลือดควรประเมินการตอบสนองต่อสารน้ำ
ภาวะอุณหภูมิต่ำอาจมีผลกระทบถึงแก่ชีวิตได้
ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับการติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ใส่สายสวนกระเพาะ เพื่อลดการโป่งพองของกระเพาะอาหาร
การประเมิน
ระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง มีอาการซึม สับสน หมดสติ
การตอบสนองของรูม่านตา (pupils)
Glasgow coma scale
ผิวหนัง
มีผิวหนังเย็น ชื้น เหงื่อออกมาก cyanosis
หัวใจและหลอดเลือด
Blood pressure ปริมาณเลือดออกจากหัวใจใน 1 นาที และแรงต้านของหลอดเลือดส่วนปลาย
Pulse จะพบชีพจรเบา เร็ว แต่ระยะท้ายชีพจรจะช้า และไม่สม่ำเสมอ
Capillary filling time เพื่อทดสอบการไหลเวียนที่หลอดเลือดส่วนปลาย
Central venous pressure เท่ากับ 7-8 cm.H2O
ระบบหายใจ
จะพบการหายใจเร็ว และไมสม่ำเสมอ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะจะลดลงเหลือ 30-50 ml./hr
ภาวะไตวายปัสสาวะจะออกน้อยกว่า 20 ml./hr.
ระบบทางเดินอาหาร
ผู้ป่วยจะกระหายน้ำ ท้องอืด ไม่ได้ยิน bowel sound
ภาวะกรดด่างของร่างกาย
เกิดภาวะ acidosis metabolic มีอาการซึม อ่อนเพลีย สับสน ไม่รู้สึกตัว หายใจแบบ Kussmaual
Resuscitation
ช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตที่อาจทำให้เสียชีวิต
Secondary survey
ประเมินสภาพทำหลังจาก primary survey และ Resuscitation
พยาบาลพึงระวังว่าอาจเกิดภาวะอันตรายบางอย่างที่ตรวจไม่พบ
History
ประวัติและ Mechanism of Injury ได้จากผู้ป่วยเอง
ควรซักประวัติให้ได้ข้อมูลที่มากที่สุดเพื่อให้ทราบกลไกการบาดเจ็บ
Allergies แพ้ยา สารเคมี
Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
Past illness/ Pregnancy เจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Event/ Environment related to injury อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร
Blunt trauma
เกิดจากอุบัติเหตุจราจร พลัดตกจากที่สูง
Penetrating trauma
เกิดจากอาวุธปืน มีด บ่งบอกถึงอวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บ ชนิดและระยะทางที่ยิง
Physical Examination
Head
ตรวจหนังศีรษะให้ใช้มือคลำให้ทั่วหนังศีรษะเพื่อหาบาดแผล
เสียเลือดจากบาดแผลมากควรเย็บแผลชั่วคราว
เลือดหยุดและอาการดีแล้วจึงค่อยเย็บแผลใหม่
คลำดูกะโหลกศีรษะว่ามีรอยแตกยุบ
Facial
คลำกระดูกใบหน้าให้ทั่วเพื่อหา deformity บอก facial fracture
บาดแผลบริเวณใบหน้าอาจมีการบาดเจ็บของกระดูกหน้าร่วม
ไม่ทำให้เกิดภาวะ Airway obstruction หรือ major bleeding
Cervical spine
and Neck
ควรคำนึงถึง cervical spine injury จะใส่ Collar
ไม่เคลื่อนไหวคอผู้ป่วยจนกว่ากระดูกคอไม่มีการบาดเจ็บ
Chest
เริ่มจากการมองหารอยช้ำ รอยยุบ คลำว่ามี Crepitus หรือเจ็บจุดใด
ตรวจให้ทั่วทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ดูการบาดเจ็บ
Chest movement คลำ chest wall ให7ทั่วทั้ง Clavicle,Ribs และ Sternum
ฟังเสียงหายใจหน้าอกสองข้างเท่ากัน วินิจฉัยภาวะ Pneumothorax และ Hemothorax
Abdomen
บาดเจ็บและเกิดภาวะ Shock สงสัยการบาดเจ็บในช่องท้องและมีการเสียเลือด
ควรเริ่มจากการสังเกตดูรอยบาดเจ็บต่างๆ ที่ผิวหนัง
คลำช่องท้องที่เจ็บหรือการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อท้อง
ฟังเสียง Bowel sound เสียง Bruit ควรตรวจประเมินฝีเย็บ
สิ่งสำคัญที่สุดคือการสังเกตอาการอย่างใกล้ชิดและ Reevaluation
Musculoskeletal and Peripheral
vascular assessment
การบาดเจ็บแขนขาจะประเมินบาดแผล การหักงอ บวมผิดรูป
คลำ Crepitus หากสงสัยว่ามีการบาดเจ็บกระดูกให้ดาม
ป้องกันการบาดเจ็บของเส้นเลือด เส้นประสาท
Pelvic fracture
ตรวจพบ Ecchymosis บริเวณ Iliac wing, Pubis, Labia
ผู้ป่วยจะมี pain on palpation และมี sign of unstability
Neurological system
ตรวจระบบประสาทและสมองอย่างละเอียด
ประเมิน motor sensory ระดับความรู้สึกตัว
pupil size, Glasgow coma score
Reevaluation
ควรประเมินร่างกายซ้ำเป็นระยะๆ และติดตามการเปลี่ยนแปลงอาการของผู้ป่วย
ควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดด้วยความระมัดระวัง
Definitive care
รักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทำ secondary survey เรียบร้อยแล้ว
การรักษาจำพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
นางสาวกุลจิรา สมศรี รหัสนักศึกษา 6101211245 เลขที่ 56 SecB