Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ความหมาย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน คือ การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน
จำเป็นต้องดำเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที
การเกิดโรคในระบบต่างๆ ของร่างกาย
การบาดเจ็บ
การเกิดโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อ
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน หมายถึง ผู้ที่ทีอาการหนักรุนแรงต้องการการดูแลจากเจ้าหน้าที่ที่มีความชำนาญเฉพาะทาง
การเจ็บป่วยวิกฤต หมายถึง การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิต หรือพิการได้
ลักษณะของผู้ป่วยวิกฤต
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้
ผู้ป่วยที่หมดสติ
ผู้ป่วยที่มีระบบการหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง
ผู้ป่วย Septic Shock
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง
ผู้ป่วย myocardialin farction
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา
ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
เพื่อช่วยชีวิต
ผู้ป่วยที่มีภาวะหยุดหายใจ
หรือหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การทำแผล
การใส่เฝือกชั่วคราวกระดูกที่หัก
การดามกระดูกคอ
การจัดท่านอนที่เหมาะสม
การให้ความอบอุ่นร่างกาย
การสังเกตอาการและสัญญาณชีพ
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ เพื่อเป็นประโยชน์ในการรักษาต่อไป
การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้ว
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาล พ.ศ. 2552
ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่กำลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
ค้นหาสาเหตุและ/หรือปัญหาที่ทำให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ แล้วดำเนินการแก้ไข
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสำคัญของร่างกายให้คงไว้
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
การพยาบาลสาธารณภัย
ประเภทของภัยพิบัต
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ
ภัยที่เกิดจากมนุษย์
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์สาธารณภัย
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากสาธารณภัย
ต้องนำความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉินมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติ ทั้งในระยะก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัย
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การบรรเทาภัย
การเตรียมความพร้อม
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
การบูรณะฟื้นฟู
คุณสมบัติพยาบาลสำหรับจัดการสาธารณภัย
มีความรู้ทางการพยาบาลและมีประสบการณ์การปฏิบัติงานการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินและวิกฤต
มีความรู้ด้านสาธารณภัย มีความสามารถในการประเมินสถานการณ์และคาดการณ์ถึงปัญหาสุขภาพที่จะเกิดจากสาธารณภัยชนิดต่างๆ
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี มีความเป็นผู้นำ
มีทักษะในการสื่อสาร และการบันทึกข้อมูลต่างๆได้อย่างถูกต้องครบถ้วนชัดเจน
มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์
แนวทางปฏิบัติในระบบทางด่วน (Fast track) สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
การจัดทำควรเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ
จัดทำแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย พร้อมกำหนดลักษณะผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วนที่เข้าระบบทางด่วน
จัดทำแนวปฏิบัติ ลำดับการปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงประตูโรงพยาบาล
จัดทำรายการตรวจสอบ (check list) สำหรับการลงข้อมูล ตรวจสอบข้้อมูลต่างๆ
ฝึกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้และสามารถดำเนินการตามระบบทางด่วน
กำหนด clinical indicator เพื่อการติดตามและประเมินผลในแต่ละขั้นตอนของระบบทางด่วน
เน้นย้ำเวลาเป็นสำคัญ ต้องมีแผนปฏิบัติการรองรับเพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ตามมาตรฐานที่กำหนด
บทบาทพยาบาลกับ Fast track
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
Trauma life support
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ (Rehabilitation & transfer)
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น Primary survey
Circulation and Hemorrhage control
Airway maintenance with cervical spine protection
Breathing and Ventilation
Exposure / Environment control
Disability: Neurologic Status
Resuscitation
การดูแลทางเดินหายใจ
การช่วยหายใจ
การใส่ท่อช่วยหายใจ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การห้ามเลือด
Secondary survey
การซักประวัติ
การตรวจ Head to toe
การตรวจทางรังสีรักษา
การตรวจพิเศษต่างๆ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Definitive care
การผ่าตัดCraniotomy
การผ่าตัดหน้าท้อง Exploratory Laparotomy
การนอนรักษาตัวในหออภิบาลผู้ป่วยหนัก