Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle…
บทที่ 5แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
ผู้ป่วยที่มีภาวะเจ็บป่วยด้วยภาวะฉุกเฉินจึงหมายรวมถึงผู้ป่วยมีภาวะเจ็บป่วยวิกฤต
เป็นผู้ที่กําลังประสบภาวะคุกคามต่อชีวิตทางด้านร่างกาย (Life-threatening)
พยาบาลจึงมีบทบาทหน้าที่ในการให้การดูแลผู้ป่วยให้ผ่านพ้นภาวะวิกฤติของชีวิต
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
1.การบรรเทาภัย (Mitigation)
2.การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
3.การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
4.การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ต้องจัดให้มีระบบเฝ้าระวังภายใน 5 วันหลังภัยพิบัติ
5.การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
แนวคิด
(1) Anglo-AmericanModel(AAM)
ปีเริ่มต้น1970s
ปรัชญา/จุดประสงค์หลัก
“Scoop and run” เวลาสําหรับการประคับประคองอาการในสถานที่เกิดเหตุสั้น และนําผู้ป่วยส่งยังสถานพยาบาลให้เร็วที่สุด
นําผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด
บุคลากรผู้ให้บริการ/การดูแล
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแลโดยมีแพทย์กํากับ
ปลายทาง
ลําเลียงผ้ปู่วยส่งตรงห้องฉุกเฉิน
แนวคิดการเชื่อมต่อองค์กร
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นส่วนหนึ่งของ องค์การความปลอดภัยสาธารณะ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
รถ Ambulance เป็นหลัก
ใช้ Aero-medical หรือ Coastal ambulance
องค์การที่เกี่ยวข้อง
องค์การที่เกี่ยวข้องการบริการความปลอดภัยของสาธารณะ เช่น ตํารวจ สถานีดับเพลิง
ค่าใช้จ่าย
สูงกว่า FGM
จํานวนผู้ป่วย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการนําส่งไปยังโรงพยาบาล
เพียงจํานวนน้อยที่ได้รับ การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ
ตัวอย่างประเทศ
สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย
(2) Franco-German Model (FGM)
แนวคิดการเชื่อมต่อองค์กร
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นส่วนหนึ่งขององค์การสาธารณสุข
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
Ambulance, Helicopter และ Coastal ambulance
ปลายทาง
ลําเลียงผ้ปู่วยส่งหน่วยเฉพาะทาง
องค์การที่เกี่ยวข้อง
ภายใต้บริการจะเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพ
บุคลากรผู้ให้บริการ/การดูแล
แพทย์ให้การดูแลโดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วย อาจนําเทคโนโลยีรวมไปให้การดูแลในขั้นสูง
ค่าใช้จ่าย
ต่ำกว่า AAM
ปรัชญา/จุดประสงค์หลัก
“Stay and Stabilize” ให้เวลานานในการดูแลอาการในสถานที่เกิดเหตุและนําการรักษาไปยังสถานที่เกิดเหตุ
นําบริการโรงพยาบาลมาหาผู้ป่วย
จํานวนผู้ป่วย
ผู้ป่วยส;วนใหญ่ได้รับการรับการรักษา ณ จุดเกิดเหตุ
เพียงจํานวนน้อยที่นําส่งโรงพยาบาล
ปีเริ่มต้น1970s
ตัวอย่างประเทศ
เยอรมนี ฝรั่งเศส กรีซ มอลต้า ออสเตรีย
พยาบาลกับการจัดการสาธารณภัย
เป็นการพยาบาลที่ต้องนําความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉิน มาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ที่เกิดสาธารณภัยทั้งในระยะก่อนเกิด ขณะเกิด และหลังเกิดภัย
ความหมาย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน จําเป็นต้องดําเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที อาจเกิดจากภาวะต่างๆ
การเจ็บป่วยวิกฤต
Critical
จะนํามาใช้ในผู้ป่วยอาการเพียบหนักมีอาการรุนแรง หรือขั้นฉุกเฉิน มีอันตราย
Critical Care
เพื่อดํารงรักษาชีวิต มุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏในครั้งแรก และการป้องกันไม่ให้เข้าสู่สถานการณ์คับขันCrisisในการประคับประคองให้ความสําคัญกับทุกระบบไม่ให้นําสู่สภาวะที่เป็นปัญหาต่อไป
Crisis
นํามาใช้กับผู้ป่วยที่อยู่ในสภาวะที่มีสถานการณ์คับขัน เป็นจุดวิกฤตของการเป็นโรค ทําให้มีอาการดีขึ้น หรือตายได้ในทันทีผู้ป่วยในสภาวะนี้มีโอกาสของความเป็นความตายได้เท่ากัน
Crisis care
เพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยการรักษา จึงมุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏอันตราย โดยเฉพาะระบบของร่างกายที่มีการล้มเหลว เพื่อแก้ไขภาวะล้มเหลว หรือรักษาสภาพการทํางานของระบบนั้น
การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทําให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
อุบัติเหตุ (Accident)
อุบัติการณ์ซึ่งเกิดขึ้น โดยไม่คาดหมายมาก่อน ทําให้เกิดการบาดเจ็บตายและการสูญเสียทรัพย์สินโดยที่เราไม่ต้องการ ถ้าอุบัติเหตุมีขนาดใหญ่ เรียกว่าDisaster ความรุนแรงแบ่งออกเป็น อุบัติเหตุปกติที่เกิดขึ้นทุกวัน
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
4.ความดันโลหิตSystolicต่ํากว่า80มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว่า 130มม.ปรอท
5.ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
3.คลําชีพจรไม่ได้ หรือชีพจรช้ากว่า 40หรือเร็วกว่า30 ครั้ง/นาที
6.เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
2.หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า30ครั้งต่อนาที หายใจลําบากหรือหอบเหนื่อย
7.มือเท้าซีดเย็น เหงื่อออกมาก
1.ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
8.อุณหภูมิของร่างกายต่ํากว่า35 เซลเซียส หรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
9.ถูกพิษจากสัตว์ เช่น งู หรือสารพิษชนิดต่างๆ
ผู้ป่วยวิกฤตมีลักษณะดังนี้
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้ เช่น ผู้ป่วยที่หมดสติ ผู้ป่วยที่มีระบบการหายใจล้มเหลวเป็นต้น หากไม่ได้รับการรักษาผู้ป่วยจะเสียชีวิตในอัตราสูง
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง เช่น ผู้ป่วยSeptic Shock หากไม่ได้รับการรักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในอัตราสูง
3.ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง เช่น ผู้ป่วยmyocardialin farction ต้องการการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา
ผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัย
2.กลุ่มอาการหนัก ต้องหามนอนหรือนั่งมาอาการแสดงยังคลุมเครือต้องใช้การตรวจอย่างละเอียด
3.กลุ่มอาการหนักมาก หรือสาหัสต้องการการรักษาโดยด่วนหรือช่วยชีวิตทันทีกลุ่มผู้ป่วยเสียชีวิต เป็นกลุ่มที่หมดหวังในการรักษา
1.กลุ่มอาการไม่รุนแรง หากผู้ป่วยเดินได้อาจถือว่าอาการไม่หนัก
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
1.เพื่อช่วยชีวิต
2.การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
3.การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ เพื่อเป็นประโยชน์ในการรักษาต่อไป
4.การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้ว ต้องรีบเคลื่อนย้ายนําส่งโรงพยาบาล เพื่อทําการรักษาต่อทันที พร้อมทั้งข้อมูลผู้ป่วย และข้อมูลการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาลพ.ศ.2552
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสําคัญของร่างกายให้คงไว้
ค้นหาสาเหตุและ/หรือปัญหาที่ทําให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ แล้วดําเนินการแก้ไข
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
6.ประคับประคองจิตใจและอารมณฺ์ของผู้ป่วยและญาติ
ดําเนินการแก้ไขปัญหาที่กําลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
การพยาบาลสาธารณภัย
ภัยพิบัติ/สาธารณภัย (Disaster)
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือโดยมนุษย์อย่างทันทีและทําให้ระบบการดูแลรักษาที่มีอยู่เดิมชะงักลงหรือเพิ่มความต้องการในการปฏิบัติงานขององค์กร เหตุการณ์เช่นเดียวกันแต่เกิดในที่ห่างไกลหรือชนบทซึ่งอาจถือว่าเกินกําลังของโรงพยาบาลแห่งนั้นและต้องการความช่วยเหลือจากนอกโรงพยาบาลก็ถือว่าเป็นภัยพิบัติ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster)
1.ภัย (Hazard)
เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ใดๆที่สามารถที่ทําให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ความเสียหายต่อทรัพย์สินความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม
2.สาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster)
สาธารณภัย ได้แก่ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัยภัย ภัยแล้ง
2.ภัยสาธารณะ
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ
ภัยที่เกิดจากคนทํา
ภัยทางอากาศ ได้แก่ ปล้นเครื่องบิน
การก่อวินาศภัย ได้แก่ ก่อการร้าย กราดยิง วางระเบิด
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข
ความรุนแรงระดับที่ 1
สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก ซึ่งสํานักงานสาธารณสุขในระดับอําเภอสามารถจัดการได้ตามลําพัง
ความรุนแรงระดับที่ 2
สาธารณภัยขนาดกลาง หน่วยงานสาธารณสุขระดับอําเภอไม่สามารถจัดการได้ ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในการจัดการเข้าระงับภัย
ความรุนแรงระดับที่ 3
สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่จําเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ
ความรุนแรงระดับที่ 4
สาธารณภัยขนาดใหญ้ ที่มีผลกระทบรุนแรงยิ่ง นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรี ที่นายก ฯ มอบหมายให้เป็นผู้ควบคุมสถานการณ์
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
D –Detection
การประเมินสถานการณ์ว่าเกินกําลังหรือไม่
I -Incident command
ระบบการบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S –Safety and Security
การประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A –Assess Hazards
การประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S –Support
การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
T –Triage/Treatment
การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย
E –Evacuation
การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R –Recovery
การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์สาธารณภัย
1.มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากสาธารณภัย โดยใช้องค์ความรู้และทักษะทางการพยาบาลอย่างเป็นระบบ
2.ต้องนําความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉินมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติ ทั้งในระยะก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัย
3.เป็นการปฏิบัติการพยาบาล
คุณสมบัติพยาบาลสําหรับจัดการสาธารณภัย
3.มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี มีความเป็นผู้นํา และสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4.มีทักษะในการสื่อสาร และการบันทึกข้อมูลต่างๆได้อย่างถูกต้องครบถ้วนชัดเจน
2.มีความรู้ด้านสาธารณภัย มีความสามารถในการประเมินสถานการณ์และคาดการณ์ถึงปัญหาสุขภาพที่จะเกิดจากสาธารณภัยชนิดต่างๆ รวมทั้งมีความสามารถให้การพยาบาลได้ครอบคลุมทุกระยะของการเกิดภัย
5.มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์
1.มีความรู้ทางการพยาบาลและมีประสบการณ์การปฏิบัติงานการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินและวิกฤต และด้านการรักษาโรคเบื้องต้นได้
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สําหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
5.การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จํากัด
6.การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
4.การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
7.การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
3.การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
8.การดําเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดําเนินงานในภาพรวม
2.การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
9.การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
1.การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน (Fast track)
6.Care delivery
7.Monitoring: early warning signs & E-response
4.Flow (purpose-process-performance)
8.Risk management (general & clinical)
2.Triage/ Specific triage/ Assessment
9.Co-ordination, Communication, Handover
5.Investigation
10.Inter & Intra transportation
3.Activate system
11.Evaluation, output, outcome
1.EMS (accessibility)
12.Improvement, Innovation, Integration
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การฟื้นฟูสภาพและการส่งต่อ (Rehabilitation& transfer)
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น ประกอบด้วย
การประเมินผู7ปgวยที่ได7รับบาดเจ็บเบื้องต7น (Primary Survey)
Resuscitation
Secondary survey
Definitive care
Primary survey: ขั้นตอนและวิธีการ
Airway maintenance with cervical spine protection
Breathing and Ventilation
Circulation and Hemorrhage control
4.การประเมินสภาพร่างกายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บอย่างละเอียด (Secondary Survey)
5.การรักษาผู้ปgวยที่ได้รับบาดเจ็บภายหลังได้รับการช่วยเหลือขั้นต้นแล้ว (Definitive Care)