Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Oral habit management - Coggle Diagram
Oral habit management
Mouth breathing
เป็นการหายใจทางปากแทนจมูก ถือเป็นพฤติกรรมการหายใจที่ผิดปกติ ภายในช่องปากมักพบ proclination of maxillary anterior, generalized spacing, gingivitis, posterior crossbite
การจัดการ
ในทางทันตกกรม จะใช้ orthodontic appliances เช่น oral screen, chin cap และ activator
-
Nail biting
เป็นพฤติกรรมทางปากในการลดความเครียดที่พบได้บ่อยที่สุดทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ การกัดเล็บรวมถึงเนื้อเยื่ออ่อนและผิวหนังที่อยู่รอบๆบริเวณเล็บร่วมด้วย ซึ่งพฤติกรรมนี้จะเริ่มหลังจากอายุ 4 ปี และเกิดสูงสุดที่อายุ 4-6 ปี จากนั้นจากคงที่ระหว่างช่วงอายุ 7-10 ปี และเกิดอีกครั้งในช่วงวัยรุ่น
การจัดการ
-
-
-
-
ใส่ fix appliance โดยที่มี horizontal component เป็นลวดวางตาม Incisal edge ของฟันล่าง ซึ่งจะขัดขวางการวางนิ้วระหว่าง incisal surface ของฟันหน้านบและล่าง โดยทำงานเป็นเทคนิคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยความไม่ชอบ (aversion-based behavioral modification technique) ซึ่งเมื่อเด็กเอานิ้วเข้าปากก็จะโดนลวดซึ่งเป็นสิ่งที่เตือนและทำให้เด็กเกิดการตระหนัก
Digit Suckling
การจัดการ
Psychological therapy
เป็นการดูแลทางจิตใจเนื่องจากเด็กที่มีพฤติกรรมเหล่านี้มักมีความรู้สึกขาดความรักและไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างสมควร โดยอาจจะเป็นการให้กำลังใจการให้รางวัลในการพยายามเลิกพฤติกรรมดังกล่าว ไม่ว่ากล่าวหรือดุด่า อาจจะให้เขามองตัวเองในกระจกเวลาเขาดูดนิ้วซึ่งจะทำให้เขาเห็นตัวเองและอยากเลิกพฤติกรรมดังกล่าวไปเอง
Remider therapy
เป็นการใช้สารเคมีหรือเครื่องมือเข้ามาช่วยให้เขาไม่ดูดนิ้วเช่น การทาสารที่มีรสชาติขมไว้ที่นิ้วมือ หรือ การใส่ถุงมือหรือถุงแขนที่ทำให้เขางอแขนมาดูดนิ้วไม่ได้ เป็นต้น
-
-
การดูดนิ้วมักเป็นพฤติกรรมที่มักพบได้มากแบบหนึ่งของ non-nutritive sucking ซึ่งจริงๆแล้วพฤติกรรมนี้มักพบถึงเด็กช่วงวัย 2-3 ปีหากเด็กยังมีพฤติกรรมหลังจากช่วงเวลานี้ไป สามารถทำให้เกิด malocclusion ได้ ซึ่งมักจะทำให้เกิด Anterior openbite, Posterior crossbite, upper anterior teeth protrusion, mandible move backward เป็นต้น
Lip suckling/Lip bitting
พฤติกรรมการกัดริมฝีปาก หรือดูดริมฝีปากตนเองมักเกิดกับริมฝีปากล่าง เกิดขึ้นได้เมื่อเด็กอยู่ในภาวะเครียดหรือวิตกกังวลมักซึ่งหากเป็นเช่นนี้บ่อยจนติดเป็นนิสัยจะทำให้เกิด malocclusion ตามมาได้เนื่องจากกล้ามเนื้อส่วน metalis จะทำงานมากขึ้น หรือ เกิด TMJ disorders ตามมาได้เช่นกัน
การจัดการ
ขึ้นอยู่กับสาเหตุที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเหล่านั้น ซึ่งสามารถปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังกล่าวได้ เช่น การฝึกไม่ให้ทำ หรือ รู้ถึงการทำพฤติกรรมเหล่านั้นแบบไม่ตั้งใจ หรือการรักษาโดยการใช้ยาลดความเครียด หรือยาต้านเศร้าเพื่อไม่ให้เกิดความเครียดหรือวิตกกังวลอันเป็นสาเหตุของพฤติกรรมดังกล่าว เป็นต้น
ในกรณีที่ไม่สามาถปรับพฤติกรรมได้จะอุปกรณ์ใส่ในช่องปาก(Intraoral devices)ในการรักษา มีดังต่อไปนี้
- Mouthguards
- Acrylic splints
- Lip bumpers
- other custom-designed appliances
อุปกรณ์เหล่านี้นอกจากจะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่ออ่อนรอบๆริมฝีปากแล้วยังช่วยปรับพฤติกรรมการกัดริมฝีปากโดยเครื่องมือจะเป็นตัวขัดขวางการกระทำดังกล่าวขณะสวมใส่อีกด้วย
Bruxism
-
จะมีลักษณะชอบกัดเค้นฟันโดยไม่รู้ตัว เเละเป็นสาเหตุสำคัญในการเกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาได้ ได้แก่ ฟันแตก วัสดุอุดแตกเเละเป็นโรคข้อต่อขากรรไกรผิดปกติ (TMD)
การจัดการ
-
การใช้ยา 💊
-
-
-
ใช้การรักษาแบบนี้เมื่อผู้ป่วยมีโรคทางระบบที่อาจ
ทำให้เกิดผลข้างเคียงคือการกัดฟัน ดังนั้นจึงใช้ยาเพื่อรักษาโรคอันเป็นสาเหตุที่ให้เกิดการกัดฟันนั้น:
-
-
Tongue thrusting
คือ การที่ปลายลิ้นมีการเคลื่อนมาด้านหน้าบริเวณระหว่างฟันหน้าในขณะที่กลืนหรือพูด โดยสามารถหายได้เองเมื่อมีฟันถาวรขึ้นมาประมาณอายุ 8-9 ปี
การจัดการ
Myofunctional therapy เป็นการฝึกให้ผู้ป่วยเอาลิ้นแตะที่บริเวณ rugae 5 นาที แล้วให้กลืน จะช่วยแก้ไขตำแหน่งการวางลิ้นขณะกลืนให้ถูกต้อง หลังจากที่ฝึกอาจจะใช้เครื่องมือ removable with tongue crib มาใช้ในการ reminder ผู้ป่วยได้ โดยการฝึกทำได้หลายวิธี เช่น Orthodontic elastics exercise, 4s exercises
- Orthodontic elastics exercise: เป็นการนำยาง elastic มาวางที่บริเวณปลายลิ้นจากนั้นให้ผู้ป่วยฝึกยกปลายลิ้นให้ยางสัมผัส palate บริเวณ rugae แล้วให้ผู้ป่วยกลืน โดยอาจจะเปลี่ยนจากยางเป็น lemon candy แทนได้ ซึ่งเรียกว่า lemon candy exercise
- 4S exercises: spot salivating squeezing and swallowing:
กำหนดจุดบริเวณ incisive papillae แล้วนำลิ้นไปแตะบริเวณนั้นจะมีน้ำลายไหลออกมาแล้วก็กลืนน้ำลายโดยที่ลิ้นยังแต่อยู่ที่ตำแหน่งเดิม
-