Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด
Anglo-AmericanModel(AAM)
Franco-German Model (FGM)
ภาวะฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
ต้องช่วยเหลือและดูแลรักษาทันที
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
อาการรุนแรง ต้องใช้เจ้าหน้าที่เฉพาะทาง
เพื่อให้ปลอดภัยจากภาวะคุกคามชีวิต
ไม่รู้สึกตัว ชัก อัมพาต
หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้ง/นาที
หายใจเร็วกว่า 30 ครั้ง/นาที
BP ต่ำ /สูง
อุณหภูมิมากกว่า 40องศา หรือน้อยกว่า 35องศา
การถูกพิษจากสัตว์มีพิษ
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกระทันหัน
หลักการพยาบาล
เพื่อช่วยชีวิต
ป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงวิกฤต
บันทึกเหตุการณ์ อาการ และการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
การส่งต่อการรักษา หลังจากรักษาเบื่องต้น
เคลื่อนย้ายอย่างรวดเร็ว
ปลอดภัย
ภาวะวิกฤต
การเจ็บป่วยวิกฤต
Crisis
แก้ไขอาการที่อันตราย
Critical
ป้งกันการเกิด crisis
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในครั้งแรก
การเจ็บป่วยรุนแรงถึงขั้นที่ทำให้ถึงแก่ชีวิต
ผู้ป่วยวิกฤต
ผู้ที่ผมดสติ
ผู้ที่มีความอันตรายสูง
ผู้ป่วย septic shock
ผู้ป่วย myocardialin farction
ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
หลักการพยาบาล
มีหลักการ
สาธารณภัย
Accident
Occupational Accident
Homeor Domestic Accident
Public Accident
ผู้บาดเจ็บสาธารณภัย
กลุ่มอาการไม่รุนแรง
กลุ่มอาการหนัก
กลุ่มอาการหนักมาก
Traffic Accident
ประเภท
ภัยธรรมชาติ
ภัยที่เกิดจากมนุษย์
ระดับความรุนแรง
ทั่วไป/ขนาดเล็ก
สาธารณสุขระดับอำเภอสามารถจัดการได้เอง
ขนาดกลาง
ต้องได้รับความช่วยเหลือจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ขนาดใหญ่
มีผลกระทบกว้าง
ต้องได้รับความช่วยเหลือจากหลายหน่วยงาน
ระดับ 4 สาธารณภัยขนาดใหญ่
มีผลกระทบรุนแรงมากที่สุด
นายก หรือรองนายก เป็นผู้ควบคุมสถานการณ์
อุบัติภัย
Hazard
เหตุการณืที่เ้กิดขึ้นซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิต
MASS CASSUALTIES
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับคนจำนวนมาก
มีการทำลายทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรไม่เพียงพอต่อการควบคุมสถานการณ์
ประภท
Multiple casualties
Mass casualties
หลักการพยาบาล
บรรเทาภัย
ลดผลกระทบของภัยพิบัติ
เตรียมความพร้อม
เตรียมแผนตอบโต้ฉุกเฉิน
มีการฝึกอบรม
มีการซ้อมแผน และเตรียมพร้อมของทรัพยากรที่จำเป็น
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน
ยึดหลัก CSCATT
Command
Safety A, B, C (Personal, Scene, Survivors)
Communication
Assessment
Major incident : เป็นเหตุการณ์สาธารณภัยหรือไม่
Exactlocation: สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน
Typeofaccident: ประเภทของสาธารณภัย
Hazard: มีอันตราย หรือเกิดอันตรายอะไรบ้าง
Access :ข้อมูลการเดินทางเข้า-ออกจากที่เกิดเหตุ
Numberofcasualties: จํานวนและความรุนแรงของผู้บาดเจ็บ
Emergencyservice: หน่วยฉุกเฉินไปถึงหรือยัง
ควบคุม ยับยั้งโรค และภัยที่อาจเกิดขึ้น
ฟื้นฟู ให้ทุกอย่างกลับสู่สภาวะปกติมากที่สุด
พยาบาลกับการจัดการสาธารณภัย
ลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นกับทรัพย์สิน และชีวิต
ฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตจัยของผู้ประสบภัย
หลักการบริหาร
ยึดตามหลัก Disaster paradigm
Detection
การประเมินสถานการณ์
Incident command
ระบบการบัญชาการณ์
Safety and Security
ประเมินความปลอดภัย
Assess Hazards
การประเมินสถานที่เกิดเหตุ
Support
การเตรียมอุปกรณ์ และทรัพยากรที่จำเป็น
Triage/Treatment
คัดกรอง และรักษา
คัดแยกผู้ป่วยตาม ID-me (Immediate, Delayed,Minimal, Expectant)
Evacuation
การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
Recovery
การฟื้นฟูสภาพหลังเหตุการณ์
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system)
มีการจัดทีมสหวิชาชีพ
มีการจัดทำแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย
กำหนดลักษณะผู้ป่วยที่เร่งด่วน
จัดทำแนวปฏิบัติ ลำดับการในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
จัดทำรายการตรวจสอบในการลงข้อมูล/บันทึกข้อมูล
มีการฝึกอบอมให้มีความรู้และความสามารถในการปฏิบัติงาน
กําหนด clinical indicator
เพื่อติดตาม และประเมินผลในแต่ละขั้น
บทบาทพยาบาลกัยระบบทางด่วน
ประเมินเบื่องต้น โดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
รายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
ประสานงานทั้งภายในและภายนอกองค์กร
จัดการและดูแลขณะส่งต่อ
ติดตามผลอย่างต่อเนื่อง
ให้ความช่วยเหลือ
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน
EMS (accessibility)
Triage/ Specific triage/ Assessment
Activate system
Flow (purpose-process-performance)
Investigation
Care delivery
Monitoring: early warning signs & E-response
Risk management (general & clinical)
Co-ordination, Communication, Handover
Inter & Intra transportation
Evaluation, output, outcome
Improvement, Innovation, Integration
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
ระบบการดูผู้บาดเจ็บ
Access
เข้าถึงการติดต่อเมื่อเกิดเหตุ
การเข้าถึงระบบแพทย์/ระบบการรักษา
Prehospital care
คำนึงถึงความปลอดภัยของสิ่งวดล้อมเป็นสิ่งแรก
การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ
ปฐมพยาบาลเบื่องต้น
จำแนกผู้ป่วย
ช่วยฟื้นคืนชีพ
Hospital care
คัดแยก
ระบบทางด่วนฉุกเฉิน
วินิจฉัย
รักษาตามความเร่งด่วน
Rehabilitation& transfer
ให้การดูแลอย่างต่อเนื่อง
ฟื้นฟูคุณภาพชีวิต
ส่งต่อในรายที่มีอาการรุนรง
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
Primary survey
ตามหลัก A-B-C-D-E
Breathing and ventilation
ช่วยหายใจ และระบายอากาศเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนอากาศ
วินิจฉัยภาวะผิดกติ
Tension pneumothorax
Flail chest with pulmonary contusion
Massive hemothorax,
Open pneumothorax
ประเมินจาก
การดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
คลำ การเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ
ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
Circulation with hemorrhagic control
ประเมินสัญญาณชีพ
ระดับความรู้สึกตัว สีผิว อุณหภูมิ
ค้นหาภาวะ shock
เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่พียงพอ จากการสูญเสียเลือด
Cardiac tamponade จากการถูกยิง ถูกแทง ที่หัวใจ
Neurogenic shock
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บของไขสันหลังระดับสูงกว่า mid thoracic
อาการทางประสาท
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยน ซึม สับสน แอะอะ และหมดสติ
ผิวหนัง
เย็น ชื้น เหงื่อออกมาก
septic shock
ผิวหนังอุ่น สรชมพูในระยะแรก
หัวใจและหลอดเลือด
Blood pressure
Systolic< 90/50 mmHg.
Pulse
เบาเร็ว
Capillary filling time > 2 วินาที
Central venous pressure เท่ากับ 7-8 cm.H2O
ระบบหายใจ
หายใจเร็ว ไม่สม่ำเสมอ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะลดลง < 30 50 ml/hr
ระบบทางเดินอาหาร
กระหายน้ำ น้ำลายน้อยลง ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน ลำไส้บวม ไม่ได้ยิน Bowel sound
ภาวะกรดด่างของร่างกาย
เกิดการเผาผลาญแบบ anaerobic metabolism
เกิด acidosis metabolic
ซึม อ่อนเพลีย งุนงง สับสน ไม่รู้สึกตัว
หายใจแบบ Kussmaual
Disability (Neurologic Status)
ประเมิน Glasgow Coma Scale
ประเมิน AVPU Scale
Alert
ผู้บาดเจ็บรู้สึกตัวดี สามารถพูดโต้ตอบได้
Voice/verbal stimuli
สามารถตอบสนองต่อเสียงเรียกได้
Painful stimuli
ตอบสนองต่อความปวด
Unresponsive
ไม่มีปฏิกิริยาตอบสนอง
Exposure / environmental control
การป้องกันภาวะ Hypothermia
การพลิกตะแคงตัวแบบท่อนซุง
การใช้กรรไกตัดเสื้อผ้า เพื่อค้นหาอาการบาดเจ็บ
Airway maintenance with cervical spine protection
ค้นอาการ Airway obstruction
มีการดูดเสมหะ
การตรวจสอบหาสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
การแตกของกระดูกใบหน้า
กราม
ความเสียหายของหลอดลม/กล่องเสียง
กรณีประสบอุบัติเหตุ
เปิดทางเดินหายใจ
jaw thrust maneuver
modified jaw thrust
Triple airway maneuver
ป้องกันการบาดเจ็บของ Cervical spine
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน
Cervical spine injury
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
ผู้ป่วยที่บ่นปวดคอ
ไม่สามารถขยับ/เคลื่อนไหวคอได้
Resuscitation
การช่วยเหลือให้พ้นจากภาวะวิกฤต
การดูแลทางเดินหายใจ
ช่วยหายใจ
ใส่ท่อช่วยหายใจ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
เปิดเส้นด้วยเข็มเบอร์ใหญ่และสั้น 2 เส้น (เบอร์ 18, 16,14)
เลี่ยงการแทงเส้นใต้ตำแหน่งของแขนขาที่ได้รับบาดเจ็บ
Balance salt solution
ไม่ให้ร่วมกับ Lactated Ringer's solution, acetar
การห้ามเลือด
Secondary survey
การตรวจร่างกายอย่างระเอียด หลังพ้นภาวะฉุกเฉิน
ตรวจทางห้องปฏิบัตการ
Definitive care
ทำการรักษา หลังไได้รับการตรวจวินิจฉัยแล้ว
ประเมินสภาพการบาดเจ็บ เรียงตามลำดับความสำคัญ และภัยคุกคามชีวิต
Secondary Survey
History
Allergies
ประวัติการแพ้ยา สารเคมี หรือวัตถุต่างๆ
Medication
ยาที่ใช้ปัจจุบัน
Past illness/ Pregnancy
เวลาที่รับประทานอาหาร
Last meal
การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
Event/ Environment related to injury
รายละเอียดของอุบัติเหตุ
Blunttrauma
Penetrating trauma
Physical Examination
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessment
Pelvic fracture
Neurological system
Reevaluation
Definitive Care
การรักษาเฉพาะการบาดเจ็บของแต่ละอวัยวะ
การผ่าตัดเพื่อแก้ไขภาวะฉุกเฉิน
Intracranial hematoma
Intra-abdominal bleeding
รวมถึง multiple organ injury