Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
ผู้ป่วยวิกฤตมีลักษณะดังนี้
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา
ผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัย
กลุ่มอาการหนัก ต้องหามนอนหรือนั่งมา อาการแสดงยังคลุมเครือต้องใช้การตรวจอย่างละเอียด
กลุ่มอาการหนักมาก หรือสาหัสต้องการการรักษาโดยด่วนหรือช่วยชีวิตทันทีกลุ่มผู้ป่วยเสียชีวิต เป็นกลุ่มที่หมดหวังในการรักษา
กลุ่มอาการไม่รุนแรง หากผู้ป่วยเดินได้อาจถือว่าอาการไม่หนัก
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ เพื่อเป็นประโยชน์ในการรักษาต่อไป
เพื่อช่วยชีวิต
การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้ว ต้องรีบเคลื่อนย้ายนําส่งโรงพยาบาล เพื่อทําการรักษาต่อทันที
ประสิทธิภาพในการให้การช่วยเหลือผู้ป่วย
แผนกฉุกเฉินต้องมีหลักในการพยาบาล ดังนี้
มีหลักในการอุ้มยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากยานพาหนะไปยังห้องพยาบาล อย่างนุ่มนวลรวดเร็วปลอดภัย
มีการซักประวัติการเจ็บป่วยและอาการสําคัญอย่างละเอียด รวดเร็ว
ทําการคัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยํา
ให้การรักษาพยาบาลภายใต้นโยบายของโรงพยาบาล และภายในเขตการรับรองของกฎหมาย
ให้การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
ให้การดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
มีการนัดหมายผู้ป่วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษาต่อเนื่อง
มีการส่งต่อเพื่อการรักษาทั้งในหอผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยหนัก และภายนอกโรงพยาบาล
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาลพ.ศ.2552
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ค้นหาสาเหตุและ/หรือปัญหาที่ทําให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ แล้วดําเนินการแก้ไข
ดําเนินการแก้ไขปัญหาที่กําลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสําคัญของร่างกายให้คงไว้
การพยาบาลสาธารณภัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster)
ภัย (Hazard) หมายถึง เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ใดๆที่สามารถทําให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ความเสียหายต่อทรัพย์สินความเป็นอยู่และสิ่งแวดล้อม
สาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster) หมายถึง ภัยที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากการกระทําของมนุษย์แล้วก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต และความเสียหายอื่นๆ
ประเภทของภัยพิบัติ
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ (Natural Disaster)
ภัยที่เกิดจากมนุษย์ (Man-made Disaster)
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข
ระดับที่ 2 สาธารณภัยขนาดกลาง ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในการจัดการเข้าระงับภัย
ระดับที่ 3 สาธารณภัยขนาดใหญ่ จําเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ ต้องอาศัยการสนับสนุนจากหน่วยงานหลายส่วนราชการภายในเขตจังหวัด /จังหวัดใกล้เคียงและระดับเขต
ระดับที่ 1 สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก สํานักงานสาธารณสุขในระดับอําเภอสามารถจัดการได้ตามลําพัง
ระดับที่ 4 สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงยิ่ง ดําเนินการควบคุมสถานการณ์กรณีที่ได้รับมอบหมายจากนายกฯ หรือ รองนายกฯ
อุบัติภัย
ภัย (Hazard) หมายถึง เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ใดๆที่สามารถที่ทําให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ความเสียหายต่อทรัพย์สินความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม
อุบัติเหตุกลุ่มชน/อุบัติภัยหมู่ (MASS CASSUALTIES) หมายถึง อุบัติเหตุที่เกิดกับคนจํานวนมาก ได้รับการเจ็บป่วยจํานวนมาก เกินขีดความสามารถปกติที่โรงพยาบาลจะให้การรักษาพยาบาลได้
เกิดการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยของประชาชนจํานวนมาก
มีการทําลายของทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรที่มีอยู่ในภาวะปกติไม่เพียงพอที่จะนํามาใช้ควบคู่สถานการณ์
ระบบและกลไกปกติของสังคมถูกทําลายหรือไม่เพียงพอที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
ประเภทของอุบัติภัยหมู่แบ่งตามขีดความสามารถของสถานพยาบาล
Multiple casualties ทั้งจํานวนและความรุนแรงของผู้ป่วยไม่เกินขีดความสามารถของโรงพยาบาล
Mass casualties ทั้งจํานวนและความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลและทีมผู้รักษา
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response) หลัก CSCATT
การบรรเทาภัย (Mitigation)
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ภายใน5วันหลังเกิดภัยพิบัติ
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
พยาบาลกับการจัดการสาธารณภัย
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
A –Assess Hazards คือ การประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S –Support คือ การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
S –Safety and Security คือ การประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
T –Triage/Treatment คือ การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเปfนของผู้ป่วย
I -Incident command คือ ระบบการบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
E –Evacuation คือ การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
D –Detection คือ การประเมินสถานการณ์ว่าเกินกําลังหรือไม่
R –Recovery คือ การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์สาธารณภัย
ต้องนําความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉินมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติ ทั้งในระยะก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัย
เป็นการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ
ป้องกันและลดความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย
มุ่งเน้นด้านการพยาบาลฉุกเฉินแก่ผู้ประสบภัยจํานวนมากในขณะเกิดภัย
การฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ประสบภัยและญาติ
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากสาธารณภัย โดยใช้องค์ความรู้และทักษะทางการพยาบาลอย่างเป็นระบบ
คุณสมบัติพยาบาลสําหรับจัดการสาธารณภัย
มีความรู้ด้านสาธารณภัย มีความสามารถในการประเมินสถานการณ์และคาดการณ์ถึงปัญหาสุขภาพที่จะเกิดจากสาธารณภัยชนิดต่างๆ
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี มีความเป็นผู้นํา
มีความรู้ทางการพยาบาลและมีประสบการณ์การปฏิบัติงานการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินและวิกฤต และด้านการรักษาโรคเบื้องต้นได้
มีทักษะในการสื่อสาร และการบันทึกข้อมูลต่างๆได้อย่างถูกต้องครบถ้วนชัดเจน
มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สําหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
ช่วยนําผู้ป่วยให้เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างทันเวลา และลดระยะเวลาการรักษาในผู้ป่วยกลุ่มอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน เพื่อให้ได้รับการรักษาเฉพาะทางที่มีศักยภาพสูงกว่า โดยพิจารณาจากเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่ชัดเจน
แต่ละสถานพยาบาล/สถาบันสามารถดําเนินการจัดทําหรือจัดการแตกต่างกัน โดยอาศัยหลักการ
จัดทํารายการตรวจสอบ (check list) สําหรับการลงข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลต่างๆ
ฝึกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้และสามารถดําเนินการตามระบบทางด่วน
จัดทําแนวปฏิบัติ ลําดับการปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงประตูโรงพยาบาล หรือ ห้องฉุกเฉิน พร้อมกําหนดหน้าที่ต่างๆของผู้ที่เกี่ยวข้อง
แผนการปฏิบัติต้องเน้นย้ำเวลาเป็นสําคัญ ต้องมีแผนปฏิบัติการรองรับเพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ตามมาตรฐานที่กําหนด
จัดทําแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย พร้อมกําหนดลักษณะผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วนที่เข้าระบบทางด่วน
กําหนด clinical indicator
การจัดทําควรเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ ประกอบด้วยแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ในส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องมาร่วมดําเนินการ
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จํากัด
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การดําเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดําเนินงานในภาพรวม
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย้างต้อเนื่อง
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน (Fast track)
Care delivery
Monitoring: early warning signs & E-response
Investigation
Risk management (general & clinical)
Flow (purpose-process-performance)
Co-ordination, Communication, Handover
Activate system
Inter & Intra transportation
Triage/ Specific triage/ Assessment
Evaluation, output, outcome
EMS (accessibility)
Improvement, Innovation, Integration
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การฟื้นฟูสภาพและการส่งต่อ (Rehabilitation& transfer)
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น ประกอบด้วย
Secondary survey เป็นการตรวจร่างกายอย่างละเอียดหลังจากผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตแล้ว
History
Past illness/ Pregnancy
Last meal
Medication
Event/ Environment related to injury
Allergies
Blunt trauma
Penetrating trauma
Physical Examination
Head ในการตรวจหนังศีรษะให้ใช้มือคลําให้ทั่วหนังศีรษะเพื่อหาบาดแผล
Facial ควรคลํากระดูกใบหน้าให้ทั่วเพื่อหา deformity
Cervical spine and Neck ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวทุกรายที่มีการบาดเจ็บศีรษะควรคํานึงถึง cervical spine injury
Chest การตรวจจะเริ่มจากการมองหารอยช้ำ รอยยุบคลําดูว่ามี Crepitus หรือเจ็บที่จุดใด
Abdomen ในผู้ป่วยที่บาดเจ็บและเกิดภาวะ Shock ให้สงสัยการบาดเจ็บในช่องท้องและมีการเสียเลือดเกิดขึ้น
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessment
Pelvic fracture
Neurological system
Reevaluation ในระยะแรกที่ดูแลผู้ป่วยที่บาดเจ็บ ควรมีการประเมินร่างกายซ้ำเป็นระยะๆ เพื่อประเมินหาการบาดเจ็บที่อาจตรวจไม่พบในระยะแรก
Resuscitation เป็นการช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตที่อาจทําให้เสียชีวิตได้
Definitive care เป็นการรักษาหลังจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นแล้ว
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
Airway maintenance with cervical spine protection
Breathing and Ventilation
Circulation and Hemorrhage control
Disability: Neurologic Status
Exposure / Environment control
การกู้ชีพ (Resuscitation)
การแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตหรือที่เป็นอันตรายเร่งด่วน
Breathing ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับออกซิเจนเสริมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ ผู้าดเจ็บควรได้รับออกซิเจนผ่านหน้ากากที่เหมาะสมกับหน้าพอดีด้วย flow rate 11 L/min
Circulation การห้ามเลือดเป็นสิ่งจําเป็นอย่างยิ่งในผู้บาดเจ็บโดยทําร่วมกับการให้สารน้ำทดแทน
การให้สารน้ำและเลือด
ให้สารน้ำที่เป็น Balance salt solution
หากอาการทรุดลง ไม่ตอบสนองพิจารณาการให้เลือดกรุ้ป โอ ซึ่งสามารถให้เลือดทุกหมู่ได้ตามแผนการรักษา
กรณีสงสัยว่ามีเลือดออกในช่องท้อง หลีกเลี่ยงการให้สารน้ำที่ขาเพราะจะทําให้สารน้ำไหลรั่วเข้าช่องท้อง
ไม่ควรให้เลือดร่วมกับ Lactated Ringer's solution, acetar
หลีกเลี่ยงแทงเส้นใต้ตําแหน่งของแขนขาที่ได้รับบาดเจ็บ
หลังได้รับสารน้ำหรือเลือดควรประเมินการตอบสนองต่อสารน้ำ
อย่างน้อยควรเปิดหลอดเลือดดําด้วยเข็มขนาดใหญ่และสั้น 2เส้น เบอร์ 18,16,14
ภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำอาจพบได้ตั้งแต่ขณะที่ผู้บาดเจ็บมาถึง
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตวงวัดปริมาณปัสสาวะ
การใส่สายสวนกระเพาะ
Airway ภายหลังจากการประเมิน การทําDefinitive airway ในผู้บาดเจ็บที่มีปัญหาการหายใจ สามารถรักษาได้โดยการใส่ท่อช่วยหายใจ