Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก - Coggle…
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ความหมาย หลักการ แนวคิด และวัตถุประสงค์ของการประเมินภายนอก
ความหมาย
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจองสถานศึกษา โดยผู้ประเมินภายนอกสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้มี
หลักการ
การประเมินคุณภาพภายนอกต้องมีความเชื่อมโยงกับระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
ต้องมีความท้าทายและช่วยส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถานศึกษาสู่สากลให้เป็นไปตามนโยบายปฏิรูปการศึกษาของประเทศ
แนวคิดสำคัญ
ให้ความสำคัญกับการประเมินที่มุ่งสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน
เพื่อยืนยันคุณภาพของระบบประกันภายในเพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดรับผิดชอบในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาชาติ
เพื่อกระตุ้นและจูงใจให้เกิดการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับความจำเป็นและยุทธศาสตร์ของประเทศ
เปิดโอกาสให้สถานศึกษาสร้างความโดดเด่นในการพัฒนาระดับภูมิภาค ระดับชาติและระดับนานาชาติ
วัตถุประสงค์
เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพและประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งช่วยสะท้อนให้เห็นจุดแข็งจุดอ่อนของสถานศึกษา
เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการด าเนินงานของสถานศึกษา
กรอบแนวทาง
ส่วนที่ 2 การประเมินความโดดเด่น
การประเมินภายนอกที่ส่งเสริมความเป็นเลิศของสถานศึกษา
ส่วนที่ 1การประเมินคุณภาพมาตรฐาน
การประเมินตามพันธกิจและบริบทของสถานศึกษา โดยเชื่อมโยงกับการประกันภายใน
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับประเมินภายนอก
บทบาทของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สถานศึกษา
กำหนดมาตรฐานการศึกษา จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ดําเนินการตามแผนพัฒนา ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน ติดตามผลการดําเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาจัดทํารายงานผลการประเมินตนเอง พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจากรายงานผลการประเมินตนเอง
สถานศึกษาให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา
จัดระบบประกันภายในเพื่อให้เกิดการพัฒนาและเป็นกลไกควบคุมตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สนง เขตพื้นที่การศึกษา
ติดตามผลการดำเนินงาน ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในการประเมินคุณภาพภายนอก
รวบรวมและสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเอง ( SAR) และส่งไปยังสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์และให้ข้อมูลเพิ่มเติมในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก
ศึกษา วิเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตลอดจนให้คำปรึกษา ช่วยเหลือและแนะนำสถานศึกษา
แนวทางการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา
ช่วงที่ 1 ก่อนการรับประเมินคุณภาพภายนอก
อาคารสถานที่
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
บุคลากร
เอกสารหลักฐานร่องรอย
ช่วงที่ 2 ระหว่างรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ประสานงานขอความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง
ร่วมรับฟังการนำเสนอผลการประเมินด้วยวาจาและให้ข้อมูลเพิ่มเติม
ในช่วงรับการประเมินภายนอก สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนตามปกติตามตารางสอน และตารางกิจกรรมที่กำหนดไว้
นำเสนอข้อมูลตามมาตรฐานและประเด็นการพิจารณา
อำนวยความสะดวกแก่คณะกรรมการประเมินตามความเหมาะสม
ช่วงที่ 3 หลังเสร็จสิ้นการประเมินภายนอก
ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องร่วมกันตรวจสอบรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก
สถานศึกษาสามารถโต้แย้งผลการประเมินคุณภาพภายนอกได้โดยทำเป็นลายลักษณ์อักษรซึ่งสมศ จะส่งผลการพิจารณา
วิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข
ตัวอย่างแนวทางการเตรียมข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
วิวัฒนาการในการประเมินคุณภาพภายนอก
รอบที่ 2 (พศ 2549-2553) พัฒนาเทคนิคประเมิน (Assessment)
รอบที่ 3 (พศ 2554-2558) ส่งเสริมเทคนิคประเมิน (Assessment)
รอบที่ 1 (พศ 2544-2548) เริ่มใช้เทคนิคประเมิน (Assessment)
รอบที่ 4 (พศ 2559-2563) ประเมินคุณภาพภายนอกให้สอดคล้องกับหลังสถานการณ์ COVID-19
การเตรียมข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
ระดับการศึกษาปฐมวัย
ด้านที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการหรือด้านออื่นตามชื่อสถานศึกษากำหนด
ด้านที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ด้านที่ 1 คุณภาพของเด็กหรือด้านอื่นตามชื่อที่สถานศึกษากำหนด
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ด้านที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ด้านที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
จุดเปลี่ยน 3 ประการ ที่สำคัญในการประเมินรอบ 4 ของ สมศ
เน้นการประเมินเชิงคุณภาพ
เน้นการประเมินเพื่อพัฒนาผลการประเมินฯ ไม่มี ได้/ตก หรือ รับรอง/ไม่รับรอง
การใช้"กรอบแนววทางการประเมินฯ" แทน "มาตรฐานการประเมิน"
กรอบแนวทาง รูปแบบ วิธีการประกันคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์ Covid-19
แนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์ Covid-19
ระยะ 2 ประเมินจากการตรวจเยี่ยม
ระยะ 1 ประเมินจากการวิเคราะห์ SAR
วิธีประเมินคุณภาพภายนอกช่วงCOVID-19 และการตรวจหลักฐาน
เป็นการตรวจหลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์และเป็นไปตามความสมัครใจของสถานศึกษา
การตรวจหลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์
ทางอิเล็กทรอนิกส์
ลงพื้นที่
ระยะแรก สมศ จึงประเมิน SAR ที่สถานศึกษาส่งให้สมศ. ผ่านต้นสังกัด
หลักการประกันคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์ Covid-19
วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกสอดคล้องกับการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
การจัดการเรียนการสอนเปลี่ยนจาก ONSITE เป็นรูปแบบ ONLINE
การประเมินคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 แบ่งเป็น 2 ระยะ
แบบการวิเคราะห์ SAR
แบบตรวจเยี่ยม (SITE VISIT)
เอกสารสำหรับตรวจสอบ SAR ก่อนการประเมิน
Co-06 : แนวทางการทำตารางนัดหมาย
Co-05 : แบบคำขอของสถานศึกษาขอให้สมศ. ไปตรวจหลักฐาน
Co-03 : Work Sheet การอ่าน SAR
Co-07 : Work Sheet เตรียมงาน
Co-02 : หัวข้อใน SAR เพื่อช่วยให้ผู้ประเมินตรวจสอบว่าใน SAR มีหัวข้อครบถ้วนหรือไม่
Co-08 : ตารางสรุปผลการ
Co-01 : SAR ที่สถานศึกษาส่งผ่านต้นสังกัดให้สมศ เป็นจุดเริ่มต้นของการประเมิน
Co-09 : รายงานผลประเมิน
Co-04 : รายงานผลประเมิน SAR
ขั้นตอนการประเมิน SAR
ขั้นตอนที่ 2 การประเมิน SAR
ดำเนินการประเมิน SAR ตามเกณฑ์พิจารณา
จัดทำ(ร่าง)รายงานผลการประเมิน SAR ตามเอกสาร “CO-04
ดำเนินการตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น SAR
คณะผู้ประเมินร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง (ร่าง) SAR
สถานศึกษาเลือกเอกสาร
ขั้นตอนที่ 3 หลังประเมิน SAR
กรณีสถานศึกษาต้องการให้สมศ. ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม ให้สถานศึกษาจัดทำเอกสาร “CO-05
ทำเอกสารส่ง สมศ ในระบบ AQA
สถานศึกษาพิจารณา (ร่าง) SAR
สมศ เบิกค่าตอบแทนให้กับผู้ประเมินภายนอก
คณะผู้ประเมินส่ง (ร่าง) SAR ให้สถานศึกษา
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนการประเมิน SAR
เกณฑ์การประเมิน SAR สมศ
ศึกษาเอกสารประกอบการประเมิน SAR