Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก,…
บทที่ 8 การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ความหมาย หลักการ แนวคิดและวัตถุประสงค์
ความหมาย
หลักการ
การประเมินคุณภาพภายนอกต้องมีความเชื่อมโยงกับระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
การประเมินคุณภาพภายนอกต้องมีความท้าทายและช่วยส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถานศึกษาสู่สากล
แนวคิดสำคัญ
เน้นการประเมินเพื่อยืนยันคุณภาพของระบบประกันคุณภาพภายใน
ให้ความสำคัญกับการประเมินที่มุ่งสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน
ใช้กลไกการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อกระตุ้นและจูงใจให้เกิดการพัฒนา
เปิดโอกาสให้สถานศึกษาสร้างความโดดเด่น หรือเป็นต้นแบบในการพัฒนา
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น
.
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอก
เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งช่วยสะท้อนให้เห็นจุดแข็งจุดอ่อนของสถานศึกษา
เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพและประกันคุณภาพภายใน
เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการด าเนินงานของสถานศึกษา
กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก
ส่วนที่ 1
เป็นการประเมินตามพันธกิจและบริบทของสถานศึกษา โดยเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน และประเด็นที่ได้รับแจ้ง
ส่วนที่ 2
เป็นแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกที่ส่งเสริมความเป็นเลิศของสถานศึกษา โดยสถานศึกษาสามารถเลือกความโดดเด่น
หลักเกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพของการประเมินคุณภาพภายนอก
มี 5 ระดับ
ดี
เหมาะสม เป็นไปได้ น่าเชื่อถือ
พอใช้
เหมาะสม เป็นไปได้ น่าเชื่อถือ ไม่ครบบางประเด็น
ดีมาก
เหมาะสม เป็นไปได้ น่าเชื่อถือ ต่อเนื่อง
ปรับปรุง
ไม่สามารถดำเนินการได้เป็นส่วนใหญ่
ดีเยี่ยม
เหมาะสม เป็นไปได้ น่าเชื่อถือ ต่อเนื่อง เป็นต้นแบบ
แนวทางพิจารณาคุณภาพในการประเมินคุณภาพภายนอก
.
เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice)
ความเหมาะสม/เป็นไปได้(Propriety / Feasibility)
นวัตกรรม (Innovation)
ความเป็นระบบ (Systematic)
ประสิทธิผล (Effectiveness)
ความเชื่อถือได้(Validity / Credibility)
2.การเตรียมค.พร้อมของสถานศึกษา
บทบาทของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
2.2 รวบรวมและสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)
2.3 ติดตามผลการดำเนินงาน ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ
2.1 ศึกษา วิเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
2.4 ให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
2.5 อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์และให้ข้อมูลเพิ่มเติมในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับสถานศึกษา
1.2 จัดให้มีระบบการประกนัคุณภาพภายในสถานศึกษา
1.3 สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)
1.1 สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
แนวทางการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา
ช่วงที่ 1 ก่อนการรับประเมินคุณภาพภายนอก
เตรียมค.พร้อมด้านอาคารสถานที่
เตรียมความพร้อมด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เตรียมค.พร้อมด้านบุคลากร
เตรียมค.พร้อมด้านเอกสารหลักฐานร่องรอย
ช่วงที่ 2 ระหว่างรับการประเมินคุณภาพภายนอก
อำนวยความสะดวกแก่คณะกรรมการประเมินตามความเหมาะสม
นำเสนอข้อมูลตามมาตรฐานและประเด็นการพิจารณา
ประสานงานข้อความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง
ร่วมรับฟังการน าเสนอผลการประเมินด้วยวาจาและให้ข้อมูลเพิ่มเติม
ในช่วงรับการประเมินภายนอก สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนตามปกติตามตารางสอน
ช่วงที่ 3 หลังเสร็จสิ้นการประเมินคุณภาพภายนอก
1) ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องร่วมกันตรวจสอบรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก
2) สถานศึกษาสามารถโต้แย้งผลการประเมินคุณภาพภายนอกได้โดยทำเป็นลายลักษณ์อักษรซึ่งสมศ. จะส่งผลการพิจารณา
3) วิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข ตามความจำเป็นเร่งด่วน ปกติหรือกำหนดลงในแผนพัฒนา
ตัวอย่างแนวทางการเตรียมข้อมูล/ร่องรอย หลักฐานเชิงประจักษ์
จุดเปลี่ยน 3 ประการ ที่สำคัญในการประเมิน รอบสี่ของ สมศ.
เน้นการประเมินเชิงคุณภาพ
เน้นการประเมินเพื่อพัฒนา ผลการประเมิน ไม่มี ได้/ตก หรือ รับรอง/ไม่รับรอง
การใช้ "กรอบแนวทางการประเมิน" แทน "มาตรฐานการประเมิน"
วิวัฒนาการในการประเมินคุณภาพภายนอก
สมศ. เริ่มงานประกันคุณภาพภายนอก โดยใช้เทคนิคประเมิน (Assessment) เทคนิคประกันมีหลายอย่าง เช่น Audit, Evaluation , Description
สมศ. ดำเนินการประเมินคุณภาพภายนอกให้สอดคล้องกับหลังสถานการณ์ COVID-19 ซึ่งเรียกว่า NewNormal in Education
กรอบแนวทาง รูปแบบและวิธีการประกันคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์ COVID-19
แนวทางการประเมินคุณภาพ
ภายนอก ภายใต้สถานการณ์COVID-19
ระยะแรก
ส่ง SAR ให้หน่วยประเมินบริหารจัดการ
คณะผู้ประเมินจัดท ารายงานการประเมินจากการวิเคราะห์ SAR
คณะผู้ประเมินจัดส่งรายงานการประเมินจากการวิเคราะห์SAR ให้สถานศึกษาพิจารณาความถูกต้องตามเวลาที่กำหนด
หน่วยประเมินตรวจสอบความถูกต้องและจัดส่งรายงานการประเมินจากการวิเคราะหประเมินจากการวิเคราะห์ SAR ฉบับสมบูรณ์ ให้สมศ.
สมศ. เสนอผลการประเมินจากการวิเคราะห SAR เสนอคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง ก่อนส่งให้สถานศึกษาต้นสังกัดและเผยแพร่ต่อสาธารณชน
ระยะสอง
ถ้าต้องการให้สมศ. ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมสถานศึกษาสามารถร้องขอให้สมศ.เข้าไปตรวจเยี่ยมได้
ระบุตารางนัดหมาย และประเด็นการตรวจ ซึ่งการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมจะใช้เวลาน้อยที่สุด ไม่มีการสรุปผลด้วยวาจาที่สถานศึกษา
วิธีประเมินคุณภาพภายนอกช่วงCOVID-19 และการตรวจหลักฐาน
วิธีประเมินคุณภาพภายนอกช่วง COVID - 19 แบ่งเป็น2ระยะ คือ ระยะแรก และระยะสอง
การตรวจหลักฐาน ข้อมูลเชิงประจักษ์ทำได้ 2 แบบ
2.1) วิธีทางอิเล็กทรอนิกส์
2.2 วิธีลงพื้นที่
หลักการประกันคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์ COVID-19
วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกสอดคล้องกับการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
แบ่งเป็น 2 ระยะ
ระยะแรก รูปแบบการประเมิน เป็นการวิเคราะห์ SAR
ระยะสอง รูปแบบการประเมิน เป็นแบบตรวจเยี่ยม (SITE VISIT) ตามค.สมัครใจของสถานศึกษา
การจัดการเรียนการสอนเปลี่ยนจากONSITE เป็นรูปแบบ ONLINE
นางสาว วิศรุตา จันทร์สีมุ่ย 61202315