Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย, นางสาวภัณฑิรา…
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาล
ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่คุกคามชีวิต
ค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะฉุกเฉิน
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย
รักษาหน้าที่ต่างๆของอวัยวะสำคัญ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ประคับประคองจิตใจและอารมณ์
ความหมาย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน คือ การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน จำเป็นต้องดำเนินการช่วยเหลือ
การเจ็บป่วยวิกฤต
Crisis ผู้ป่วยที่อยู่ในสภาวะที่มีสถานการณ์คับขัน มุ่งเน้นเพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยเพื่อการรักษา
ป้องกันไม่ให้เข้าสู่สถานการณ์คับขัน Crisis
Critical ผู้ป่วยอาการเพียบหนัก มุ่งเน้นเพื่อดำรงรักษาชีวิต แก้ไขอาการที่ปรากฏ
หมายถึง การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้น
ที่อาจทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการ
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ผู้ที่ทีอาการหนักรุนแรงต้องการการดูแลจากเจ้าหน้าที่ที่มีความชำนาญเฉพาะทาง
เพื่อให้ปลอดภัยจากภาวะคุกคามชีวิต
หลักการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
หลักทั่วไป
ป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
ส่งต่อรักษา
เพื่อช่วยชีวิต
บันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
หลักในการพยาบาล
มีหลักในการอุ้มยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ซักประวัติและอาการสำคัญอย่างละเอียด
คัดกรองรวดเร็วแม่นยำ
ช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
ดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
มีการนัดหมาย
มีการส่งต่อ
ลักษณะผู้ป่วยงิกฤต
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้
ผู้ป่วยที่หมดสติ
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง
ผู้ป่วย Septic Shock
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง
ผู้ป่วย myocardialin farction
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง รักษาไม่หาย แต่บรรเทาอาการ
ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
อุบัติภัย
ภัย
เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ใดๆที่สามารถที่ทำให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ทรัพย์สิน ความเป็นอยู่ สิ่งแวดล้อม
อุบัติหมู่
ประเภท
Multiple casualties
จำนวนและความรุนแรงของผู้ป่วยไม่เกินขีดความสามารถของโรงพยาบาล
Mass casualties
จำนวนและความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาล
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาล
นำความรู้และทักษะมาประยุกต์ใช้
ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ
ป้องกันและลดความรุนแรง
มุ่งเน้นด้านการพยาบาลฉุกเฉิน
ฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพ
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุ
Detection คือ ประเมินสถานการณ์
Incident command คือ ระบบการบัญชาเหตุการณ์
Safety and Security คือ ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน
Assess Hazards คือ ประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวัง
Support คือ เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จำเป็น
Triage/Treatment คือ คัดกรองและรักษาที่รีบด่วน
Evacuation คือ อพยพผู้บาดเจ็บ
Recovery คือ ฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุ
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
การบรรเทาภัย (Mitigation)
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
คุณสมบัติพยาบาล
มีความรู้และประสบการณ์
มีความรู้ด้านสาธารณภัย
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี
มีความเป็นผู้นำ
มีทักษะในการสื่อสาร และการบันทึกข้อมูล
มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์
Trauma life support
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
1.การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
A:Airway maintenance with cervical spine protection
ประเมิน Airway
เพื่อหา Airway obstruction
เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
jaw-thrust maneuver
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
Head-tilt Chin-lift
ผู้ป่วยStroke
ผู้ป่วยมะเร็ง
ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับบาดเจ็บ
ผู้ป่วยที่เกิดปัญหาการอุดกั้น
ทางเดินหายใจส่วนบน
ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บกระดูกสันหลังส่วนคอ
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
ผู้ป่วยที่บ่นปวดคอ
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวคอได้เอง
ผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บศีรษะ
การบาดเจ็บคอ
ป้องกันการบาดเจ็บของ Spinal cord โดยการใส่ Cervical collar หรือใช้หมอนทรายวางที่สองข้างของศีรษะไว้ตลอดเวลา
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ multiple injury หรือมี blunt trauma เหนือ Clavicle ควรคิดว่าอาจมีCervical spine injury ร่วมด้วยเสมอ
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเมื่อมีปัญหาทางเดินหายใจอุดกั้น แพทย์จะพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ
B:Breathing and Ventilation
การประเมิน การช่วยหายใจและการระบายอากาศ
ประเมินจาก
การเปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
คลำ การเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ
ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
D:Disability
ประเมินระบบประสาทต่อว่าสมองหรือไขสันหลังได้รับบาดเจ็บหรือไม่
ประเมิน
CPOMR Scale
Revision trauma scale
AVPU Scale
การตรวจประเมินรูม่านตา
Glasgow Coma Scale
E:Exposure / Environment control
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหนัก ควรถอดเสื้อผ้าออกให้หมดเพื่อค้นหาการบาดเจ็บต่างๆอื่นๆ
ทำการพลิกตะแคงตัวผู้บาดเจ็บแบบท่อนซุง (Log roll)
C:Circulation and Hemorrhage control
อาการทางระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ซึม เชื่องช้า หมดสติ
ผิวหนัง
มีผิวหนังเย็น ชื้น เหงื่อออกมาก cyanosis
หัวใจและหลอดเลือด
Systolic BP จะลดลงต่ำกว่า 90 mm.Hg.
Pulse pressure แคบลง ชีพจรเบาเร็ว Capillary filling time>2
ระบบหายใจ
หายใจเร็ว และไม่สม่ำเสมอ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะจะลดลง ไตวายปัสสาวะจะออก<20 ml./hr.
ระบบทางเดินอาหาร
กระหายน้ำ น้ำลายน้อยลง ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน
ลำไส้บวม และไม่ได้ยิน bowel sound
ภาวะกรดด่างของร่างกาย
เกิดภาวะ acidosis metabolic มีอาการซึม อ่อนเพลีย งุนงง สับสน ไม่รู้สึกตัว หายใจแบบ Kussmaual
ภาวะ Shock
ความดันโลหิตจะต่ำลงชัดเจน Systolic<90 mm.Hg.
เสียเลือดร้อยละ 15 ของปริมาณเลือดในร่างกาย
Pulse pressure แคบ
ชีพจรเบาเร็ว
ตำแหน่งการเสียเลือด
ต้นขา
ในอุ้งเชิงกราน
ในช่องท้อง
ในช่องอก
ABCDE
2.Resuscitation การกู้ชีพ
การช่วยเหลือเพื่อให้
ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤต
Breathing
ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับออกซิเจนเสริมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ
Circulation
การห้ามเลือด ทำร่วมกับการให้สารน้ำทดแทน
Airway
รักษาได้โดยการใส่ท่ออช่วยหายใจ
ABC
3.Secondary survey การประเมินสภาพร่างกายอย่างละเอียด
เป็นการตรวจร่างกายอย่างละเอียดหลังพ้นภาวะวิกฤต
AMPLE
Allergies ประวัติการแพ้ยา สารเคมีหรือวัตถุต่างๆ
Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
Past illness/ Pregnancy การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Event/ Environment related to injury อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร รุนแรงเพียงใด
4.Definitive care เป็นการรักษาหลังจาก
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้น
เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพโดยตรง เป็นการรักษาจำเพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
แนวทางปฏิบัติในระบบทางด่วน
ทันเวลา ลดระบะเวลา
สำหรับผู้ป่วยอุบัติเหตุ
ผู้ป่วยเจ็บหน้าอก
ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ
ทางหลอดเลือดสมอง
อาศัยหลัก
ทำเป็นทีมวิชาชีพ
กำหนดลักษณะและลำดับการปฏิบัติ
การตรวจสอบ
ฝึกอบรม
เน้นย้ำเวลาเป็นสิ่งสำคัญ
กำหนด Clinical indicator
บทบาทพยาบาลกับ Fast track
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
การรายงานแพทย์เพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การประสานงานผู้เกี่ยวข้อง
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การดูแลตามแผนการรักษา
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติ
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
นางสาวภัณฑิรา ประนันท์ 6101210798