Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ผ่าตัดเปิดทวารเทียม Colorectal Cancer…
มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ผ่าตัดเปิดทวารเทียม
Colorectal Cancer Patients with Colostomy
การวินิจฉัยโรค
กรณีศึกษา
การวินิจฉัยโรค ผู้ป่วยเป็นมะเร็งลำไส้และเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนเป็นโรคความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูง
เนื้อหาทางทฤษฎี
การตรวจอุจาจะ (Stool-based Test)
การตรวจหาเลือดในอุจจาระ (Fecal Occult Blood Test: FOBT)
การตรวจอุจจาระเพื่อหาเม็ดเลือดแดงที่อาจมีแอบซ่อนอยู่ หรือเป็นการตรวจหาเลือด ปริมาณน้อยๆ ที่ปนอยู่ในอุจจาระ (Occult Blood) ซึ่งมองไม่เห็นได้ด้วยตาเปล่า
การตรวจหาดีเอ็นเอของเซลล์มะเร็งหรือติ่งเนื้อ (Fecal DNA Testing)
เนื้องอกลำไส้ใหญ่จะมีการหลุดลอก ทำให้สามารถตรวจพบดีเอ็นเอที่ผิดปกติในอุจจาระได้การตรวจด้วยภาพ
การตรวจด้วยภาพ
การตรวจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ด้วยภาพเสมือนจริง (Computed tomographic (CT) Colonography)
อาการและอาการแสดง
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยมีอาการถ่ายเป็นเลือดสดก่อนมาโรงพยาบาล 1 วัน ผู้ป่วยมีประวัติท้องผูกเป็นประจำ รับการรักษาริดสีดวงทวารด้วยการรับประทานยาระบายและเหน็บยาเมื่อ
อาการในทฤษฎี
4.อุจจาระมีลักษณะผิดปกติจากเดิม ลักษณะก้อนเปลี่ยนเป็นเส้นแบนคล้ายตังเม
5.มีท้องอืด ปวดท้องแน่นท้อง จุกเสียด มีลมในลำไส้มาก(Abdominal Discomfort)
3.มีเลือดสดๆ หรือเลือดแดงคลํ้าปนออกมากับอุจจาระ
6.นํ้าหนักลดลงโดยไม่ทราบสาเหตุ
2.มีอาการท้องเสียสลับกับท้องผูก
7.เหนื่อย อ่อนเพลียไม่สามารถทำงานที่เคยทำตามปกติได้
1.อาจจะถ่ายบ่อยครั้งขึ้น หรือท้องผูกมากขึ้น นอกจากนี้จะมีถ่ายไม่สุดหรือปวดเบ่งได้
พยาธิสภาพ
พยาธิสภาพในทฤษฎี
Ulcerating ก้อนมะเร็งจะมีลักษณะเหมือนเป็นแผล (Ulcer) ที่ผิวและมักจะมีเลือดออกจาก ก้อนมะเร็งได้ง่าย ทำให้ผู้ป่วยมาหาแพทย์ด้วยอาการอุจจาระเป็นเลือดหรือตรวจพบผลบวกของ
Stool Occult Blood พบว่าสองในสามของมะเร็งลำไส้ใหญ่จะมีลักษณะแบบนี้
Stenosing บางครั้งก้อนมะเร็งจะเจริญเติบโตเข้าไปใน Lumen ของลำไส้ใหญ่จนทำให้ทางเดินลำไส้แคบตีบตัน
Fungating (Exophytic) ลักษณะนี้จะเห็นเป็นก้อนยื่นออกจากผิวเยื่อบุลำไส้ใหญ่เข้าไปใน Lumen และมักจะพบอยู่ด้านใดด้านหนึ่งของผนังลำไส้ใหญ่ ส่วนใหญ่จะพบก้อนมะเร็งแบบนี้ที่ Cecum หรือ Ascending Colon พบว่ามะเร็งลำไส้ใหญ่ประมาณหนึ่งในสามจะเป็นแบบ Fungating
Constricting (Annular and Circumferential) เป็นลักษณะของก้อนมะเร็งที่โตไปตามผนังของลำไส้ใหญ่จนรอบ Lumen เกิดลักษณะเฉพาะที่เรียกว่า Napkin-ring ที่เห็นใน Barium Enema ซึ่งมักจะพบในมะเร็งที่เกิดทางด้านซ้ายของลำไส้ใหญ่ (Left-sided Colon Cancer) ทำให้เกิดการอุดตันของลำไส้ใหญ่ เชื่อว่าเกิดขึ้นจากการที่เซลล์มะเร็งแพร่กระจายไปตาม Circumferential Lymphatics10
สาเหตุ
กรณีศึกษา
ชายไทย อายุ 53 ปี น้ำหนัก 80 กิโลกรัม ส่วนสูง 178 เซนติเมตร ดัชนีมวลกาย 25.24 กิโลกรัม/ ตารางเซนติเมตร มาโรงพยาบาลด้วยอาการถ่ายเป็นเลือดสดก่อนมาโรงพยาบาล 1 วัน ผู้ป่วยมีประวัติท้องผูกเป็นประจำ รับการรักษาริดสีดวงทวารด้วยการรับประทานยาระบายและเหน็บยาเมื่อ 2 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล ถ่ายอุจจาระเป็นเลือดสดผสมกากเล็กน้อย แต่ไม่พบก้อน ที่บริเวณทวารหนัก ผู้ป่วยมีโรคประจำตัว ได้แก่ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรคความดันโลหิตสูง และไขมันในเลือดสูง
สาเหตุในทฤษฎี
ผู้ป่วยที่มีภาวะลำไส้อักเสบเรื้อรัง
2.มีประวัติพบเนื้องอก (Polyps) ในลำไส้ หากพบมากมีแนวโน้มเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่
ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมีโอกาสเป็นมะเร็งได้ง่าย
การได้รับถ่ายทอดทางพันธุกรรม พ่อ แม่ หรือญาติพี่น้องและทายาทสายตรง
ผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี
การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง
การรับประทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์หรือประเภทเนื้อแดง ที่ผ่านการปรุงด้วยความร้อนนานๆ มากเกินไป
ผู้ที่มีประวัติดื่มสุราหรือสูบบุหรี่
ผู้ที่เป็นโรคอ้วน โดยเฉพาะผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกายเกินมาตรฐาน (มากกว่า 25 หรือมีรอบเอวมากกว่า 36 นิ้ว)
วิธีการรักษา
กรณีศึกษา
รักษาโดยการผ่าตัด Exploratory laparotomy with abdominoperineal resection (APR) พร้อมกับการควบคุมระดับน้ำตาลและไขมันในเลือด และควบคุม ความดันโลหิต
ทฤษฏี
2.การเปิดลำไส้ใหญ่ออกทางหน้าท้องนี้เรียกว่า ทวารเทียม (Colostomy)
3.การฉายแสง (Radiation Therapy)เป็นการใช้รังสีพลังงานสูงในการกำจัดเซลล์มะเร็งปกติจะใช้การฉายแสงในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่มะเร็งลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย
1.การผ่าตัด (Surgery) จุดมุ่งหมายหลัก เพื่อเอาก้อนมะเร็งออกจากร่างกายไป
4.เคมีบำบัด (Chemotherapy) ปัจจุบันพบว่าการฉายแสงร่วมกับเคมีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย สามารถลดการเกิดโรคขึ้นมาใหม่ และลดอัตราการผ่าตัดเอาลำไส้ใหญ่มาเปิดไว้ที่หน้าท้องในผู้ป่วยที่มีก้อนมะเร็งขนาดใหญ่มาก
การดูแลตนเองเมื่อผ่าตัดใส่ทวารเทียม
1.การมีแก็สในลำไส้มากเกิดจากการรับประทานอาหารประเภทถั่ว เบียร์ หัวหอม กะหล่ำปลี การเคี้ยวไม่ละเอียด พูดคุยขณะรับประทานอาหาร การดูดน้ำจากหลอด การสูบบุหรี่และการเคี้ยวหมากฝรั่ง เป็นต้น
2.อาหารที่ทำให้เกิดกลิ่น ได้แก่ อาหารทะเล, อาหารรสเผ็ด, ไข่, ชะอม, สะตอ, อาหารประเภทถั่ว และเครื่องเทศ เป็นต้น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ระยะก่อนผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 1
มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัดและการด าเนินชีวิตภายหลังการ
ผ่าตัดและมีทวารเทียมทางหน้าท้อง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 2
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน
ในเลือดสูงในระหว่างและภายหลังการผ่าตัด
ระยะการมาตรวจตามนัด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 3
มีโอกาสเกิดการระคายเคืองที่ผิวหนังรอบทวารเทียมภายหลังการใช้อุปกรณ์รองรับการขับถ่ายเป็นเวลานาน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 4
มีโอกาสเกิดภาวการณ์เห็นคุณค่าตนเองลดลง (Low self- esteem)เนื่องจากภาพลักษณ์เปลี่ยนแปลงภายหลังการทำผ่าตัดทวารเทียม