Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบอวัยวะ, อ้างอิง, หน้าที่/ความสำคัญ, การดูเเลรักษา, หน้าที่/ความสำคัญ,…
-
-
หน้าที่/ความสำคัญ
ร่างกายของมนุษย์ต้องการสารอาหารไปเลี้ยงร่างกาย แต่อาหารที่เราทานเข้าไป ทั้งโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ล้วนแล้วแต่มีโมเลกุลขนาดใหญ่เกิดกว่าที่เซลล์และเนื้อเยื่อของเราจะดูดซึมเข้าไปได้ ดังนั้น นี่จึงเป็นหน้าที่สำคัญของระบบย่อยอาหาร หรือระบบทางเดินอาหาร ที่จะย่อยอาหารต่าง ๆ ให้เล็กลงจนลำเลียงเข้าสู่เยื่อหุ้มเซลล์ได้
การดูเเลรักษา
- รับประทานอาหารที่สะอาด และมีคุณค่าทางโภชนาการ – เลือกกินเนื้อสัตว์ปีก เช่น เนื้อไก่ หรือจะเป็นเนื้อปลาก็เพราะย่อยง่าย มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
- กินผัก และผลไม้เป็นประจำ – เพราะมีไฟเบอร์ วิตามิน และแร่ธาตุที่มีประโยชน์ต่อร่างกายสูง โดยเฉพาะไฟเบอร์ มีคุณสมบัติกระตุ้นการทำงานของระบบย่อยอาหาร และช่วยป้องกันอาการท้องผูกด้วย
- หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารรสจัด – เพราะไม่เป็นมิตรต่อระบบทางเดินอาหาร อาจทำให้เกิดกรด และแสบท้องได้
- เคี้ยวอาหารให้ละเอียด – เป็น เคล็ดลับดูแลระบบย่อยอาหาร ที่หลายคนมองข้ามไป การเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ก็เพื่อให้อาหารถูกย่อยได้ง่ายขึ้น ทำให้ระบบทางเดินอาหาร และระบบย่อยอาหารไม่ต้องทำงานหนัก
- ดื่มน้ำให้เพียงพอ อย่างน้อยวันละ 6 – 8 แก้ว – เพื่อช่วยให้ระบบทางเดินอาหารลำเลียงอาหาร และสารอาหารได้ดีขึ้น
- ไม่เครียดจนเกินไป และพักผ่อนให้เพียงพอ – เพราะความเครียดจะมีผลต่อกระบวนการย่อยอาหาร รวมถึงส่งผลต่ออาการลำไส้แปรปรวน ด้วย
- ขับถ่ายให้เป็นเวลาทุกวัน – เพื่อขับถ่ายของเสีย และสารพิษออกจากร่างกาย
- ออกกำลังกายสม่ำเสมอ – เพราะการเคลื่อนไหวร่างกายจะกระตุ้นระบบเผาผลาญ และการย่อยอาหาร ทั้งยังช่วยลดอาการท้องผูกได้อีกด้วย
หน้าที่/ความสำคัญ
-
-
3 ทำให้ร่างกายเคลื่อนไหว โดยการเปลี่ยนพลังงานที่ได้จากสารอาหารมาเป็นพลังงานกลหรือพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว
-
การดูเเลรักษา
- ออกแรง-ออกกำลังเป็นประจำ รวมเวลากันให้ได้อย่างน้อย 30 นาที/วัน (อย่างต่ำควรเป็น 3-5 ครั้ง/สัปดาห์)
- ออกกำลังต้านแรง เช่น เล่นเวท ยกน้ำหนัก ดึงสปริง ดึงยางยืด พิลาทิส ฯลฯ
- กินอาหารที่มีคาร์บ (แป้ง-น้ำตาล) + โปรตีน (ถั่ว นมไขมันต่ำ โปรตีนเกษตร เนื้อ ไก่ ปลา ฯลฯ) ภายใน 30 นาทีหลังออกแรง-ออกกำลัง (ไม่จำเป็นต้องเป็นอาหารมื้อใหญ่ แต่ควรมีทั้งคาร์บและโปรตีนในมื้อเดียวกัน)
-
หน้าที่/ความสำคัญ
- ช่วยป้องกันอวัยวะที่อยู่ลึกทั่วไปจากอันตราย และ การแทรกซึมของเชื้อจุลินทรีย์ต่างๆ
-
- ผิวหนังจะหนาตัวขึ้น เมื่อผิวหนังส่วนนั้นถูไถ กับสิ่งอื่นบ่อยๆ
การดูเเลรักษา
- ทำความสะอาดผิวอย่างถูกวิธี - เช็ดเครื่องสำอางออกด้วยคลีนเซอร์ก่อนล้างด้วยโฟมล้างหน้า เพื่อขจัดคราบเครื่องสำอางที่อาจตกค้างและอุดตันได้
- บำรุงผิวอย่างสม่ำเสมอ - ทาครีมบำรุงที่เหมาะสมกับสภาพผิวทุกเช้าเย็น และอย่าลืมทาครีมกันแดดในทุกเช้า เพื่อป้องกันรังสียูวีที่จะมาทำร้ายผิวได้
- ดื่มน้ำสะอาดประมาณ 2 ลิตรต่อวัน - น้ำเป็นส่วนประกอบที่สำคัญต่อร่างกาย การดื่มน้ำจะช่วยรักษาความชุ่มชื่น และความสมดุลให้แก่ผิวได้เป็นอย่างดี
- ทานอาหารและทาครีมที่ช่วยต่อต้านการเกิด Anti-oxidant - ควรกินผลไม้สดที่มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ เช่น เบอร์รี่ ทับทิม ชา ส้มโอ อโวคาโด้ แครอท และใช้ครีมบำรุงที่มีส่วนผสมของสารต่อต้านอนุมูลอิสระในผิว
- พักผ่อนให้เพียงพอ - การพักผ่อนให้เพียงพอจะช่วยสร้างกระบวนการฟื้นฟู และซ่อมแซมเซลล์ผิวใหม่ให้ได้ผลดีที่สุด
การดูเเลรักษา
การดูเเลรักษา
- ออกกำลังกายเสริมสร้างมวลกระดูก
- รักษาน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์
-
- เลี่ยงปัจจัยเสี่ยงทำร้ายกระดูก
- รับประทานอาหารแคลเซียมสูง
-
หน้าที่/ความสำคัญ
ระบบไหลเวียนโลหิต เป็นเครือข่ายของหัวใจและหลอดเลือดขนาดต่าง ๆ มีหน้าที่ในการเคลื่อนย้าย เลือด สารอาหาร ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์และฮอร์โมน เข้าและออกจากเซลล์ หากไม่มีระบบนี้ ร่างกายจะไม่สามารถต่อสู้กับโรคหรือไม่สามารถรักษาสภาพร่างกาย เพื่อดำเนินชีวิตอยู่ได้
การดูเเลรักษา
เมื่อคุณนอนให้ใช้หมอนหรือวัตถุอื่นๆ ยกขาของคุณขึ้นเพื่อเพิ่มการไหลเวียนโลหิตและช่วยให้คุณรู้สึกผ่อนคลายในเวลาเดียวกัน
รับประทานผัก ผลไม้ ธัญพืช โปรตีน และไขมันที่ดีต่อสุขภาพ และหลีกเลี่ยงอาหารที่อุดมไปด้วยน้ำตาล เกลือ หรือไขมันทรานส์ที่อาจทำให้เกิดการอุดตันของหลอดเลือดแดง
คุณควรจะดื่มน้ำตลอดทั้งวันเพื่อให้อวัยวะภายในร่างกายทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ การดื่มน้ำในปริมาณที่เหมาะสมจะทำให้ระดับออกซิเจนในเลือดเพิ่มขึ้นซึ่งนำไปสู่การไหลเวียนที่ดี
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะช่วยเพิ่มการไหลเวียนโลหิตของคุณ เลือกการออกกำลังกายที่คุณชอบเพื่อให้เลือดสูบฉีด อย่างเช่น การเดิน ขี่จักรยาน วิ่ง ว่ายน้ำ หรือการออกกำลังกายประเภทอื่นๆ ก็ได้
-
กล้ามเนื้อทำหน้าที่หดตัวเพื่อให้เกิดแรงและทำให้เกิดการเคลื่อนที่ รวมถึงการเคลื่อนที่และการหดตัวของอวัยวะภายใน กล้ามเนื้อจำนวนมากหดตัวได้นอกอำนาจจิตใจ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เช่น การบีบตัวของหัวใจ ทำให้เกิดการผลักดันอาหารเข้าไปภายในทางเดินอาหาร การหดตัวของกล้ามเนื้อที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจมีประโยชน์ในการเคลื่อนที่ของร่างกาย และสามารถควบคุมการหดตัวได้ เช่นการกลอกตา หรือการหดตัวของกล้ามเนื้อควอดริเซ็บที่ต้นขา
ผิวหนังปกคลุมห่อหุ้มร่างกายทั้งหมด ซึ่งภายในมีปลายประสาทรับความรู้สึกมากมาย เพื่อรับรู้การสัมผัส การกด ความเจ็บ และอุณหภูมิร้อนเย็น ระบบผิวหนังมีหน้าที่สำคัญในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย และยังมีหน้าที่เป็นอวัยวะขับเหงื่อ และไขมันด้วย
ผิวหนังยืดหยุ่นได้มาก บนผิวของหนังมีรูเล็กๆ อยู่ ทั่วไป รูเล็กๆ นี้ เป็นรูเปิดของขุมขน ท่อของต่อมไขมัน และต่อมเหงื่อ ผิวหนังที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้า มีรอยนูนเป็นสันจำนวนมาก โดยเฉพาะที่ปลายนิ้วมือทั้งห้ามีสันนูนเรียงกันเป็นร้อยหวาย หรือก้นหอย จึงใช้รอยพิมพ์ปลายนิ้วมือเป็นประโยชน์ในการแยกหรือ ทำนายบุคคลได้โดยการพิมพ์ลายนิ้วมือ เนื่องจาก รายละเอียดในการเรียงตัวของรอยนูนนี้ แตกต่างกันในแต่ละบุคคล
ระบบกระดูกของมนุษย์ ประกอบด้วยกระดูก กระดูกอ่อน เอ็นยึดข้อต่อ และข้อต่อ โดยมีกระดูกเป็นส่วนที่แข็งแรงและทนทานที่สุด ซึ่งกระดูกแต่ละท่อนถูกเชื่อมต่อกันด้วยเอ็นหรือพังผืดตรงบริเวณข้อต่อ ทำให้กระดูกมีความยืดหยุ่นและสามารถสนับสนุนการเคลื่อนไหวไปมาของร่างกายได้อย่างอิสระ
-
-
-