Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ม2เรื่อง2 โคลงพระราชพงศาวดาร, ลั - Coggle Diagram
ม2เรื่อง2 โคลงพระราชพงศาวดาร
รูปที่10
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร(พระสุริโยทัยขาดคอช้าง)
ผู้แต่ง
ร 5
ข้อคิด
2.ผู้ที่กระทำดีย่อมได้รับการสรรเสริญ แม้จะส้ินชีวิตแล้วก็ตาม
3.ผู้หญิงก็สามารถช่วยเหลือประเทศชาติได้เช่่นเดียวกับชาติ
1.ความกตัญญุเป็นเครื่องหมายของคนดี
คุณธรรมของพระสุริโยทัย
ความกตัญญู
ความเสียสละ
ความกล้าหาญ เด็ดเดี่ยว
ประวัติผู้แต่ง
ใจความสำคัญ
พระสุริโยทัย(พระมเหสี)แต่งองค์เป็นพระมหาอุปราชเสด็จตามไปร่วมทำศึกด้วยคชธาร ชื่อ
พลายทรงสุริยกษัตริย์
พระมหาจักรพรรดิ
ทรงยกทัพออกรับศึก
พระเจ้าบุเรงนอง(
พระเจ้าแปร หรือผู้ชนะสิบทิศ
)กษัตริย์กรุงหงสาวดียกทัพบุกยึดอโยธยา นำทัพมอญและพม่ามา30หมี่นคน
ขณะที่พระมหาจักรพรรดิชนช้างกับพระเจ้าบุเรงนองง
พระนางขับคเชนทรเช่นค้ำ สะอึกสู้ดัสกร แสดงถึงความ
กล้าหาญและความกตัญญู
ต่อพระสวามี (ฟันด้วยพระแสงของ้าวขาดสะพายแล่ง สิ้นพระชนม์ซบอยู่กับคอช้า
เหตุเกิดสมัย อยุธยา
พระโอรสของพระนางคือพระมหินทราธิราช+พระราเมศวร
คำศัพท์สำนวน
ม่าน-พม่า/นิกร หมู่พวก/สมร การรบ/มาน+มี/ดัสกร ข้าสึก /สะอีก -ขวาง/เครื่องยุทธพิไชย=เครื่องแต่งกายสำหรับออกรบ
ผู้วาดรูปที่ 10
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์
ลักษณะคำประพันธ์
โคลงสี่สุภาพ 6 บท
มีโวหาร
สัทพจน์โวหารเด่น
รูปที่56
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร (พันท้า่ยนรสิงห์ถวายชีวิต)
ผู้แต่ง
สมเด็จพระเจ้าบรมวงส์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
ใจความสำคัญ
เหตุเกิดในสมัย อยุธยา /
สมัยพระสรรเพชญที่ 8 (พระเจ้าเสือ
)
พระเจ้าเสือเสด็จทางชลมารถ เพื่อไป
ตกปลา
ที่ปากน้ำ . ประทับ
เรือพระที่นั่งเอกไชย
ถึงต.
โคกขาม คลองโคกคาม**
(คลองมหาชัย จ.สมุทรสาคร **)มีลักษณะคดเคี้ยวมาก ทำให้เรือพระที่นั่งชนกิ่งไม้ทำให้โขนเรือหักตกลงน้ำ
พันท้ายนรสิงห์จึงกราบทูลให้ทรงลงพระราชอาญา
พระเจ้าเสือทรงอภัยโทษให้ แต่พันท้ายนรสิงห์ไม่ยอม พระเจ้าเสือจึงให้ปั้นหุ่นแล้วตัดศรีษะของหุ่นนั้นแทน พันท้ายนรสิงห์ก็ไม่เห็นด้วย
ในที่สุดพระเจ้าเสือจึงรับสั่งให้ประหารชีวิต แล้วสร้างศาสเพียงตา เพื่อระลึกถึงเกียรติคุณของพันท้ายนรสิงห์
คำศัพท์สำนวน
คำโทโทษคือ เส้น-เซ่น
สรรเพชรที่แปด พระเจ้าเสือ
ข้อคิด
1.ความซื่อสัตย์
2.รักษาระเบียบวินัยย่ิงชีวิต
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการเสียสละชีวิตเพื่อรักษาความศักดิ์สิทธิ์กฎหมายไว้
ลักษณะคำประพันธ์
โคลงสี่สุภาพ ลักษณะเด่นคือ ใช้คำน้อยแต่กินความหมายมาก
ผู้วาดภาพที่
56
นายทอง (พระวรรณวาดวิจิต)
ลักษณะคำประพันธ์
โคลงสี่สุภาพ 4บท
*
ที่มา
กรมพระยาดำรงเดชานุภาพ อธิบายไว้าว่า เป็นจุดประสงค์ของ
ร.5
เป็นจะสรรเสริญกษัตริย์ไทยใน
สมัยอยุธยาและรัตนโกสินท
ร์รวมถึงเชิดชู โดยคัดจาก โ
ดยมีรูปภาพท้ั้งหมด92ภาพโคลง 376บท สร้างเสร็จ 2430
*
จุดประสงค์การแต่ง
1.เป็นจะสรรเสริญกษัตริย์ไทยใน
สมัยอยุธยาและรัตนโกสินท
ร์รวมถึงเชิดชู โดยคัดจาก โ
ดยต้องการสรรเสริญเกียรติคุณของพระมหากษัตริย์ไทยและข้าราชบริพารใน**
สมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์**
2.ต้องการรักษาฝีมือช่างไทยไว้ต่อไป
3.เพื่อเป็นการทำนุบำรุงรักษาเชิดชูโคลงฉันท์กาพย์กลอนของไทยให้อยู่ตลอดไป
ปัจจุบันเก็บที่ณ
พระที่นั่งวโรภาสพิมาน ณ พระราชวังบางปะอินจ อยุธยา
ลั