Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ, นางสาวธนวรรณ เช้าวังเย็น…
หน่วยที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
โรคหัด (Measles, Rubeola)
วิธีการแพร่เชื้อ
ไอ จามรดกัน (Airborne Transmission)
วิธีการแพร่เชื้อ
สัมผัสโดยตรงกับน้ำมูก น้ำลายของผู้ติดเชื้อ(Direct Contact)
เชื้อก่อโรค
Measles Virus ใน Genus Morbillivirus Faminly Paramyxoviridae
ระยะฟักตัว
รับเชื้อ>>ป่วย ประมาณ 10 วัน (อาจพบได้ในช่วง 7-18 วัน)
ระยะติดต่อของโรค
ช่วงแพร่เชื้อมากสุด คือ 2 วันก่อนมีอาการแสดงถึงวันที่ 4 ที่มีอาการ ผู้ที่ไม่มีอาการแพร่เชื้อได้
ลักษณะโรค
ไข้ตาแดง คัดจมูก ไอ จุดสีขาวที่เยื่อบุในปาก
3-7 วัน ผื่นแดงที่หน้า
2-3 วัน ลามมาทั่วตัว ผื่นสีน้ำตาลเข้ม
ลักษณะโรค
เด็กขาดสารอาหารจะมีอาการรุนแรง
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย คือ ช่องหูส่วนกลางอักเสบ ปอดบวม กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ (Croup) อุจจาระร่วง สมองอักเสบ
วิธีการควบคุมโรค
มาตรการป้องกัน
ภูมิคุ้มกันหลังติดเชื้ออยู่ได้ตลอดชีวิต
การให้วัคซีน ในเด็ก 9 เดือน และ18 เดือน >> เป็นวัคซีนรวม MMR (Measles, Mumps, Rubella)
การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม
รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ และรายงานให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทราบ
การแยกผู้ป่วย
การทำลายเชื้อ
การกักกัน
การให้วัคซีนผู้สัมผัส
การสอบสวนผู้สัมผัสและแหล่งแพร่เชื้อ
การรักษาตามอาการ
โรคหัดเยอรมัน (Rubella, German Measles)
ระยะฟักตัว
รับเชื้อ >> ป่วย ประมาณ 14-17 วัน (อาจพบได้ในช่วง 14-21 วัน)
ระยะติดต่อของโรค
ทารกที่มีอาการ CRS (Congenital Rubella Syndrome)
สามารถแพร่เชื้อได้หลายเดือน
วิธีการแพร่เชื้อ
สัมผัสสารคัดหลั่งจาก Nasopharynx ของผู้มีเชื้อ เชื้อ
แพร่กระจายทางละอองฝอย (Droplet Transmission) ทางการไอจาม หรือสัมผัสโดยตรง เชื้อจะถูกขับมากจากคอและปัสสาวะ
ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
ภูมิคุ้มกันหลังติดเชื้ออยู่ได้เป็นเวลานานอาจจะตลอดชีวิต
ทารกที่คลอดจากมารดาที่มีภูมิคุ้มกันโดยปกติอยู่ได้นาน 8-9 เดือน
ลักษณะโรค
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณหลังหู ท้ายทอย และด้านข้างคอโต
ในช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ จะพิการด้วยโรคหัดเยอรมันแต่กำเนิด (Congenital Rubella Syndrome, CRS)
ความพิการที่เกิดขึ้น
วิธีการควบคุมโรค
มาตรการป้องกัน
ให้วัคซีน ในเด็ก 9 และ 18 เดือน ซึ่งเป็นวัคซีนรวม MMR (Measles, Mumps, Rubella)
ให้อิมมูโนโกลบูลิน หลังได้รับเชื้อเมื่อตั้งครรภ์ระยะแรก
ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ แต่ลดอาการให้น้อยลงได้
การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด
รายงานผู้ป่วยสงสัยโรคทุกราย เก็บตัวอย่างเพื่อยืนยัน แจ้งให้ประชาชนทราบ เฝ้าระวังและค้นหาทารก CRS 9 เดือน
ลักษณะโรค
พบมากในเด็กอายุ <5 ปี
โรคติดเชื้อไวรัสมีไข้เล็กน้อยร่วมกับผื่น
ไข้ต่ำ ๆปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เป็นหวัด เยื่อบุตาอักเสบ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณหลังหู ท้ายทอย และด้านข้างคอโต ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะ ก่อนมีผื่นขึ้น 5-10 วัน
เชื้อก่อโรค
Rubella Virus
โรคไอกรน (Pertussis)
วิธีการแพร่เชื้อ
สัมผัสสารคัดหลั่งจาก Nasopharynx ของผู้มีเชื้อ เชื้อ
แพร่กระจายทางละอองฝอย (Droplet Transmission) ทางการไอจาม หรือสัมผัสโดยตรง การติดจากการปนเปื้อนพบน้อย
ระยะฟักตัว
ประมาณ 9-10 วัน (อาจพบได้ในช่วง 6-20 วัน)
เชื้อก่อโรค
Bordetella Pertussis และ Bordetella Parapertussis
ระยะติดต่อของโรค
ถ้าได้ยาปฏิชีวนะ จะไม่ติดต่อหลังได้รับยาครบ 5 วัน
ลักษณะโรค
ไอเป็นชุด ๆ (Paroxysms) เมื่อสิ้นสุดชุดการไอจะมีเสียงแหลมจากการหายใจเข้า (Whoop)
อาการแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดแฟบ ชัก อาการทางสมอง น้ำหนักลด ไส้เลื่อนและเสียชีวิต
โรคติดเชื้อแบคทีเรียระบบทางเดินหายใจ
ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
ภูมิคุ้มกันหลังติดเชื้ออยู่ได้เป็นเวลานานแต่พบติดเชื้อซ้ำได้ ผู้ไม่มีภูมิคุ้มกัน ไวต่อการรับเชื้อทุกคน
วิธีการควบคุมโรค
การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม
รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบ
แยกในห้องแยก ผู้สงสัยว่าป่วยแยกออกจากทารกและเด็กเล็ก จนกระทั่งหายจากอาการไอ หรือได้ยาปฏิชีวนะครบ 5-7 วัน
การกักกัน ผู้สัมผัสโรคในบ้านที่อายุ <7 ปีที่ได้วัคซีนไม่ครบ หยุด 21 วัน หรือได้ยาปฏิชีวนะครบ 5-7 วัน
การให้วัคซีนผู้สัมผัส
ค้นหาผู้สัมผัสหรือผู้มีอาการไม่ชัดเพื่อป้องกันกลุ่มไม่มีภูมิคุ้มกัน
ยาปฏิชีวนะ เช่น Erythromycin ลดระยะเวลาแพร่เชื้อแต่ลดอาการไม่ได้
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด
ค้นหาผู้ป่วยที่ไม่ได้รายงานหรืออาการไม่ชัดเจน
มาตรการป้องกัน
ให้วัคซีน ในเด็ก 2, 4, 6 เดือน 1 ปี 6 เดือน และ 4 ปี ซึ่งเป็นวัคซีนรวม DTP (Diphtheria, Tetanus, Pertussis)
เมื่อมีการระบาดผู้ที่มีความเสี่ยงให้ยาปฏิชีวนะ Erythromycin 7 วัน เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง
ระบาดในที่อยู่แออัดและเด็กส่วนใหญ่ไม่ได้วัคซีน
โรคคอตีบ (Diphtheria)
ระยะฟักตัว
ประมาณ 2-5 วัน
(อาจนานกว่านี้)
ระยะติดต่อของโรค
แพร่เชื้อได้ถึง 6 เดือนหรือนานกว่า
ถ้าได้ยาเชื้อจะหมดใน 4 วัน
วิธีการแพร่เชื้อ
แพร่กระจายทางละอองฝอย (Droplet Transmission) ทางการไอจาม หรือสัมผัสโดยตรง อาจปนเปื้อนกับสิ่งของ
เชื้อก่อโรค
Corynebacterium Diphtheriae
ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
ภูมิคุ้มกันหลังติดเชื้ออยู่ได้เป็นเวลานานอาจจะตลอดชีวิต
ลักษณะโรค
มีอาการเจ็บคอ ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต คอบวม โต
ลักษณะเฉพาะ คือ แผ่นเนื้อเยื่อสีเทาดูสกปรกติดแน่นกับเนื้อเยื่อปกติ อาจลุกลามจนอุดกั้นทางเดินหายใจ
โรคติดเชื้อแบคทีเรียชนิดเฉียบพลัน
แผ่นเนื้อเยื่อสีเทาเหลืองดำดูสกปรกที่ติดกับเนื้อเยื่อที่มีการอักเสบ
แผ่นเนื้อเยื่อสีเทาเหลืองดำดูสกปรกที่ติดกับเนื้อเยื่อที่มีการอักเสบ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบร่วมกับหัวใจเต้นผิดปกติ (Heart Block) และมีหัวใจล้มเหลวเนื่องจากเลือดคั่ง
วิธีการควบคุมโรค
มาตรการป้องกัน
กระตุ้นทุก 10 ปี
ให้วัคซีน ในเด็ก 2, 4, 6 เดือน 1 ปี 6 เดือน และ 4 ปี ซึ่งเป็นวัคซีนรวม DTP (Diphtheria, Tetanus, Pertussis)
กลุ่มเสี่ยง เช่น บุคลากรทางการแพทย์ควรฉีด
เด็ก >7 ปี ให้ dT
การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม
การให้วัคซีนผู้สัมผัส เก็บตัวอย่างจากจมูกและลำคอแล้วเฝ้าระวัง ฉีด Benzathine Penicillin เข้ากล้ามครั้งเดียว หรือให้ Erythromycin 7-10 วัน ถ้าเป็นผู้ประกอบอาหารหรือทำงานในโรงเรียน ให้หยุด จนตรวจไม่พบเชื้อ
ค้นหาโดยเก็บตัวอย่างจากจมูกและลำคอ
ให้ Antitoxin ทันที
โรคบาดทะยักและบาดทะยักในเด็กแรกเกิด(Tetanus & Tetanus Neonatorum)
การเกิดโรค
พบบ่อยในพื้นที่เกษตรกรรมและที่มีการสัมผัสกับสิ่งขับถ่ายของสัตว์
มีการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันไม่เพียงพอ การฉีดยาเสพติด
เขตชนบทและเขตร้อนประชากรจะเสี่ยงสูง มักพบติดเชื้อในทารก
แหล่งรังโรค
คน ลำไส้ของม้าและสัตว์อื่น>>ถ่ายอุจจาระ>>สปอร์ของเชื้อปนเปื้อนอยู่ดิน>>เข้าทางบาดแผล
เชื้อก่อโรค
Clostridium Tetani เป็น Anaerobe
วิธีการแพร่เชื้อ
เข้าทางบาดแผล
ลักษณะโรค
อาการสำคัญ เจ็บปวดเนื่องจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ เริ่มจากแก้มและลำคอ ลงมาถึงลำตัว
ลักษณะเฉพาะ คือ เกร็งหลังแอ่น (Opisthotonus) และใบหน้ายิ้มแสยะ
โรคเฉียบพลันที่เกิดจากพิษ (Exotoxin) ของเชื้อแบคทีเรียบาดทะยัก
เกร็งหลังแอ่น (Opisthotonus)
ใบหน้ายิ้มแสยะ “Risus Sardonicus”
ระยะฟักตัว
ประมาณ 3-21 วัน (เฉลี่ย 10 วัน)
ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
ร่างกายไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ ต้องฉีดวัคซีนอยู่ได้นาน 10 ปีหลังฉีดครบชุด
การฉีด Tetanus Immunoglobulin (TIG) หรือ Tetanus Antitoxin จะมีภูมิคุ้มกันอยู่ได้ไม่นาน
ระยะติดต่อของโรค
ไม่สามารถติดต่อจากคนสู่คน
วิธีการควบคุมโรค
มาตรการป้องกัน
ให้วัคซีน ในเด็ก <7 ปี ฉีด DTP >7 ปี dT
การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม
บาดทะยักในเด็กแรกเกิด
เกิดจากการใช้อุปกรณ์ไม่สะอาดตัดสายสะดือ
อาการคือ ดูดนมลำบากหรือดูดไม่ได้จากขากรรไกรแข็ง (Trismus) ร่วมกับเกร็งหรือชัก
มีหลังแอ่น
เกิดจากมารดาไม่ได้รับวัคซีนและคลอดนอกโรงพยาบาล
การป้องกันมี 2 วิธี
ปรับปรุงการดูแลมารดาตั้งครรภ์และให้วัคซีน
การเพิ่มการคลอดจากผู้ผ่านการอบรม
โรคไข้สมองอักเสบเจอี
(Japanese Encephalitis)
วิธีการแพร่เชื้อ
ถูกยุงมีเชื้อกัด ยุงรำคาญ Culex Tritaeniorhychus เป็นพาหะ
ระยะฟักตัว
ประมาณ 5-15 วัน
เชื้อก่อโรค
Japanese Encephalistis Family Togavirus Genus Flavivirus ยุงรำคาญ Culex Tritaeniorhychus เป็นพาหะ
ระยะติดต่อของโรค
ไม่สามารถติดต่อจากคนสู่คน
ยุงติดเชื้อได้ตลอดชีวิต
ไวรัสพบในเลือดนกนาน 2-5 วัน
ลักษณะโรค
เกิดจากเชื้อไวรัสแบบเฉียบพลันของสมอง
ไขสันหลัง และเยื่อหุ้มสมอง
ปวดศีรษะ ไข้สูง การเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว สับสน ไม่รู้สึกตัว สั่น ชักเป็นบางครั้ง และอัมพาตแบบกล้ามเนื้อเกร็งตัว
ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
มีภูมิคุ้มกันจำเพาะต่อชนิดของไวรัส
กลุ่มเสี่ยงสูงสุด คือ เด็กเล็กและผู้สูงอายุ
วิธีการควบคุมโรค
ให้วัคซีนชนิดเชื้อตายที่ทำจากสมองหนู
โรคโปลิโอ
(Poliomyelitis)
แหล่งรังโรค
คนเป็นแหล่งรังโรค
พบในคนติดเชื้อไม่แสดงอาการ ส่วนใหญ่เป็นเด็ก
เชื้อออกมากับอุจจาระ 1-2 เดือน
วิธีการแพร่เชื้อ
ขับออกทางอุจจาระเข้าสู่คน
เข้าทางปาก (Fecal-Oral route) อุจจาระปนเปื้อนติดมือจากคนสู่คน (Person to Person)
ปากสู่ปาก (Oral-Oral Route) หยิบจับอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อจากลำคอ
เชื้อก่อโรค
Polio Virus Family Picornaviridae
Genus Enteroviruses
ระยะฟักตัว
ระยะฟักตัวของผู้ป่วยมีอัมพาต 7-14 วัน
(มีรายงานตั้งแต่ 3-35 วัน)
ลักษณะโรค
อัมพาตแบบอ่อนปวกเปียก (Flaccid Paralysis
พบที่ขามากกว่าที่แขน และไม่เท่ากัน
ทำให้เกิดอัมพาตของแขนขา
อาการจะรู้สึกไม่สบายตัว ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ถ้ามีอาการมากจะปวดกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง และมีอาการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อคอและหลัง
ระยะติดต่อของโรค
พบในสาร
คัดหลั่งที่คอภายใน 36 ชั่วโมงและในอุจจาระภายใน 72 ชั่วโมง
พบในลำคอได้อีก
1 สัปดาห์ ส่วนอุจจาระพบนาน 3-6 สัปดาห์
ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
คนทั่วไปติดได้ง่าย
ร้อยละ 1 มีอาการอัมพาต
วิธีการควบคุมโรค
ทำลายเชื้อในอุจจาระและสารคัดหลั่งก่อนทิ้ง
การสอบสวนผู้สัมผัสและแหล่งแพร่เชื้อ ค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม ผู้ป่วย 1 รายถือเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ให้วัคซีนมีทั้งแบบฉีดและกิน
โรคตับอักเสบบี
(Viral Hepatitis B)
วิธีการแพร่เชื้อ
ติดต่อได้ทางผิวหนัง (จากการฉีดยา
การสัมผัสกับเชื้อโรคในสารคัดหลั่ง
การมีเพศสัมพันธ์
การติดจากแม่สู่ลูกขณะคลอด
แปรงสีฟันร่วมกับผู้ป่วย
การฝังเข็ม การสักผิวหนัง
ระยะฟักตัว
ระยะฟักตัวประมาณ 45-180 วัน
เฉลี่ย 60-90 วัน
การเกิดโรค
พบมากในกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ติดยาโดยการฉีด กลุ่มสำส่อนทางเพศ บุคลากรทางการแพทย์
ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
ผู้ไม่มีภูมิคุ้มกันติดต่อได้ทุกคน
เชื้อก่อโรค
DNA Virus กลุ่ม Hepadnavirus มี 4 Serotype
วิธีการควบคุมโรค
การให้วัคซีนครบ 3 เข็มจะมีภูมิคุ้มกัน 15 ปี
การแยกผู้ป่วย ใช้หลักป้องกันตามหลักสากล (Universal Precaution) เมื่อสัมผัสเลือดและสารคัดหลั่ง
ให้ HBIG ในเด็กที่คลอดจากมารดาเป็นพาหะภายใน 12 ชั่วโมง
ลักษณะโรค
เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดเฉียบพลัน
อาการเริ่มต้น เบื่ออาหาร ไม่สบายท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
โรคอีสุกอีใส
การป้องกัน
วัคซีนป้องกันอีสุกอีใส
ฉีดได้ตั้งแต่เด็ก (อายุ < 13 ปี ฉีด 2 เข็ม : 1 - 1 ปีครึ่ง : อายุ > 13 ปี ฉีด 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน)
อาการ
มีไข้ต่ำ มีอาการอ่อนเพลีย และเบื่ออาหารเล็กน้อย
จากนั้นจะเริ่มมีผื่นขึ้น ซึ่งจะขึ้นพร้อม ๆ กันกับวันที่เริ่มมีไข้ หรือขึ้นหลังจากมีไข้ประมาณ 1-2 วัน
ในเด็กอาการมักจะไม่รุนแรง ไข้มักไม่สูง ตุ่มมักขึ้นไม่มาก และมักหายได้เองภายใน 7-10 วัน
ติดเชื้อไวรัสวาริเซลลา-ซอสเตอร์
โรคติดต่อที่พบได้บ่อยในเด็ก กลุ่มอายุ 5-9 ปี
วัณโรค (Tuberculosis)
ทำให้มีการอักเสบของปอด
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis (M. tuberculosis) ในปอด
โรคติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
การแพร่กระจายมากับเสมหะ จากการไอ จามหรือหายใจเอาเชื้อวัณโรคเข้าไป
อาการและอาการแสดง
ระยะแฝง
ทดสอบทูเบอร์คูลิน (Tuberculin test) พบผลบวก และภาพรังสีทรวงอกพบความผิดปกติ
ระยะเป็นโรค
เด็กมักมาโรงพยาบาลด้วยอาการของอวัยวะที่เป็นโรค เช่น วัณโรคปอด ต่อมน้ำเหลือง กระดูกและข้อ ท้อง ระบบประสาท เป็นต้น
ระยะสัมผัส
ไม่แสดงอาการใด ๆ แข็งแรงดี แต่มีประวัติใกล้ชิดกับคนที่เป็นวัณโรค แต่ทดสอบทูเบอร์คูลิน (Tuberculin test) พบผลบวก
โรคมือเท้าปาก
การติดต่อ
ติดต่อทางนํ้าลาย
จับของเล่น
ป้ายนํ้าลายไปถูกเพื่อน
อาการ
มีแผลในปากและมีไข้สูง
ถ้าร้ายแรงที่สุดจะมีผลต่อเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน หรือติดเชื้อที่กล้ามเนื้อหัวใจ มีอาการซึมลง
กลุ่มที่ต้องเฝ้าระวัง
มักเกิดมากในเด็กอนุบาล
เกิดจากเชื้อเอนเทอโรไวรัส (Enterovirus) และคอคซาคีไวรัส (Coxsackievirus)
การรักษา
รักษาตามอาการ เช่น เช็ดตัวและรับประทานยาลดไข้ Xylocane viscous อมกลั้วปากและป้ายยา Kenalog เพื่อลดการอักเสบ
รับประทานทานอาหารอ่อน ๆ รสไม่จัด ดื่มน้ำและน้ำผลไม้ และนอนพักผ่อนมาก ๆ
ป้อนนมให้แทนการดูดจากขวด
โรคคาวาซากิ (Kawasaki disease)
อาการ
ไข้สูงเฉียบพลันอย่างน้อย 5 วัน
ตาแดง 2 ข้าง ไม่มีขี้ตา
ริมฝีปากแดง แห้ง แตก ลิ้นแดงคล้ายสตอบอรี่ (strawberry toung)
มือเท้าบวม
ผื่นแดงไม่มีตุ่มน้ำใส
ต่อมน้ำเหลืองที่คอ หลังหู หรือรักแร้ โต
โรคที่เกิดการอักเสบของเยื่อบุผิวหนัง หลอดเลือดและต่อมน้ำเหลือง พบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง
ภาวะแทรกซ้อนที่พบ
หลอดเลือดแดงที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจโป่งพอง (coronary aneurysm) หัวใจเต้นผิดปกติ ต้องได้รับการตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography)
การรักษา
ได้รับ Intravenous gammaglobulin (IVIG) ขนาดสูง เพื่อลดอาการ coronary aneurysm ร่วมกับได้รับยา Aspirin
โรคไข้เลือดออก
ไวรัสไข้เลือดออกเดงกี (dengue virus) 4 สายพันธุ์
จัดอยู่ในกลุ่ม flavivirus
ยุงลายเป็นพาหะ
พบมากในฤดูฝน
อาการ
มีไข้สูงหลายวัน ปวดศีรษะ ซึม ปัสสาวะน้อย อาจมีอาการหวัด ปวดเมื่อยตัว คลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย
เกิดจากเชื้อไวรัส ที่อยู่ในตัวยุงลาย
3 ระยะ
ระยะวิกฤต/ช็อกและ/หรือระยะเลือดออก
ชีพจรเบาเร็วและความดันเลือดลดลง Pulse pressure แคบ (ปกติ 30-50 mmhg)
อาเจียน (เป็นเลือด) ปวดท้อง
ปัสสาวะน้อย
มีไข้ลดลงอย่างรวดเร็ว แต่อาการเลวลง เช่น กระสับกระส่าย เหงื่อออก มือเท้าเย็น ซึม
ระยะฟื้น พ้นจากระยะช็อก
ถ่ายปัสสาวะบ่อยขึ้น
เริ่มอยากรับประทานอาหาร
น้ำและโปรตีนที่รั่วจะกลับเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด ระมัดระวังอาจเกิดภาวะน้ำเกิน
ระยะไข้สูง
เซนติเกรด เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดศีรษะ ปวดท้อง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เจ็บคอ
การทำ tourniquet test ให้ผลบวก
40-41 องศ
โรคเอดส์ (Acquired Immunodeficiency Syndrome: AIDS)
เป้าหมายหลักของการดูแลทารกที่คลอดจากแม่ติดเชื้อเอชไอวี
ป้องกันมิให้ทารกติดเชื้อเอชไอวี
ส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง และมีพัฒนาการดี
วินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวีให้เร็วที่สุด
การติดเชื้อจากมารดาสู่ทารก (~99%) ระหว่างการตั้งครรภ์ ระหว่างการคลอดหรือ หลังคลอดจากการกินนมแม่
โรคที่เกิดจากการติดเชื้อเอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus: HIV) โรคเอดส์ในเด็กส่วนใหญ่เกิดจาก
นางสาวธนวรรณ เช้าวังเย็น 6217701001048 sec.1