Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
โรคหัด (Measles, Rubeola)
เชื้อก่อโรค
Measles Virus
วิธีการแพร่
Airborne Transmission
Direct Contact
ระยะฟักตัว
ช่วงแพร่เชื้อมากสุด คือ 2 วันก่อนมีอาการแสดงถึงวันที่ 4 ที่มีอาการ ผู้ที่ไม่มีอาการแพร่เชื้อได้
ลักษณะโรค
ไข้ตาแดง คัดจมูก ไอ จุดสีขาวที่เยื่อบุในปาก
3-7 วัน ผื่นแดงที่หน้า
2-3 วัน ลามมาทั่วตัว ผื่นสีน้ำตาลเข้ม
วิธีควบคุม
มาตรการป้องกัน
การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม
โรคหัดเยอรมัน
(Rubella, German Measles)
เชื้อก่อโรค
Rubella Virus
ลักษณะโรค
พบมากในเด็กอายุ <5 ปี
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณหลังหู ท้ายทอย
และด้านข้างคอโต
ระยะฟักตัว
ประมาณ 14-17 วัน (อาจพบได้ในช่วง 14-21 วัน)
วิธีการแพร่
Droplet Transmission
วิธีควบคุม
การให้วัคซีน ในเด็ก 9 และ 18 เดือน ซึ่งเป็นวัคซีนรวม
MMR (Measles, Mumps, Rubella)
รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ และรายงานให้สำนักงาน
สาธารณสุขจังหวัดทราบ
รายงานผู้ป่วยสงสัยโรคทุกราย เก็บตัวอย่างเพื่อยืนยัน
แจ้งให้ประชาชนทราบ เฝ้าระวังและค้นหาทารก CRS 9 เดือน
โรคไอกรน (Pertussis)
ลักษณะโรค
ไอเป็นชุด ๆ (Paroxysms) เมื่อสิ้นสุดชุดการไอจะมีเสียงแหลมจากการหายใจเข้า (Whoop)
เชื้อก่อโรค
Bordetella Pertussis และ Bordetella Parapertussis
วิธีการแพร่
Droplet Transmission
ระยะฟักตัว
ประมาณ 9-10 วัน อาจพบได้ในช่วง 6-20 วัน
วิธีควบคุม
การให้วัคซีน ในเด็ก 2, 4, 6 เดือน 1 ปี 6 เดือน และ 4 ปี ซึ่งเป็นวัคซีนรวม DTP (Diphtheria, Tetanus, Pertussis)
แยกผู้ป่วยหายจากอาการไอ หรือได้ยาปฏิชีวนะครบ 5-7 วัน
สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง
โรคคอตีบ (Diphtheria)
ลักษณะโรค
แผ่นเนื้อเยื่อสีเทาดูสกปรกติดแน่นกับเนื้อเยื่อปกติ
เชื้อก่อโรค
Corynebacterium Diphtheriae
วิธีการแพร่
Droplet Transmission
ระยะฟักตัว
ประมาณ 2-5 วัน อาจแพร่เชื้อได้ถึง 6 เดือนหรือนานกว่า
ถ้าได้ยาเชื้อจะหมดใน 4 วัน
วิธีการควบคุม
เด็ก >7 ปี ให้ dTกระตุ้นทุก 10 ปี กลุ่มเสี่ยง เช่น บุคลากรทางการแพทย์ควรฉีด
โรคบาดทะยักและบาดทะยักในเด็กแรกเกิด(Tetanus & Tetanus Neonatorum)
ลักษณะโรค
เกร็งหลังแอ่น (Opisthotonus) และใบหน้ายิ้มแสยะ
เชื้อก่อโรค
Clostridium Tetani
วิธีการแพร่
เข้าทางบาดแผล
ระยะฟักตัว
ประมาณ 3-21 วัน (เฉลี่ย 10 วัน) ไม่สามารถติดต่อจากคนสู่คน
วิธีควบคุม
ฉีด TIG หลังมีแผลให้วัคซีน ในเด็ก <7 ปี ฉีด DTP >7 ปี dT
โรคไข้สมองอักเสบเจอี
(Japanese Encephalitis)
ลักษณะโรค
ปวดศีรษะ ไข้สูง การเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว สับสน ไม่รู้สึกตัว สั่น ชักเป็นบางครั้ง และอัมพาตแบบกล้ามเนื้อเกร็งตัว
เชื้อก่อโรค
Japanese Encephalistis
วิธีการแพร่
ถูกยุงมีเชื้อกัด ยุงรำคาญ Culex Tritaeniorhychus เป็นพาหะ
ระยะฟักตัว
ประมาณ 5-15 วัน
ไม่สามารถติดต่่อจากคนสู่คน
วิธีควบคุม
ให้วัคซีนชนิดเชื้อตายที่ทำจากสมองหนู
โรคโปลิโอ
(Poliomyelitis)
ลักษณะโรค
ทำให้เกิดอัมพาตของแขนขา
เชื้อก่อโรค
Polio Virus
วิธีการแพร่
เข้าทางปาก (Fecal-Oral route) อุจจาระปนเปื้อนติดมือจากคนสู่คน (Person to Person)
ปากสู่ปาก (Oral-Oral Route) หยิบจับอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อจากลำคอ
ยะระฟักตัว
พบในสารคัดหลั่งที่คอภายใน 36 ชั่วโมงและในอุจจาระภายใน 72 ชั่วโมง และพบในลำคอได้อีก1 สัปดาห์ ส่วนอุจจาระพบนาน 3-6 สัปดาห์
การควบคุม
ให้วัคซีนมีทั้งแบบฉีดและกิน
โรคตับอักเสบบี
(Viral Hepatitis B)
ลักษณะโรค
เบื่ออาหาร ไม่สบายท้อง
คลื่นไส้ อาเจียน
เชื้อก่อโรค
DNA Virus
วิธีการแพร่
ติดต่อได้ทางผิวหนัง (จากการฉีดยา) การสัมผัสกับเชื้อโรค
ในสารคัดหลั่งการมีเพศสัมพันธ์
การติดจากแม่สู่ลูกขณะคลอด
ระยะฟักตัว
ระยะฟักตัวประมาณ 45-180 วัน
เฉลี่ย 60-90 วัน
การควบคุม
การให้วัคซีนครบ 3 เข็มจะมีภูมิคุ้มกัน 15 ปี
: ให้ HBIG ในเด็กที่คลอดจากมารดาเป็นพาหะภายใน 12 ชั่วโมง