Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท 4 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะสุดท้ายของชีวิต…
บท 4 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะสุดท้ายของชีวิต
การแจ้งข่าวร้าย
ปฏิกริยาตอบรับ
5 ระยะ
ระยะปฏิเสธ (denial)
ช็อค ระยะนี้เราจะปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้ ไม่เชื่อ ไม่ยอมรับความจริง
ระยะโกรธ (anger)
สิ่งที่จะเกิดขึ้นในระยะนี้คือความโกรธ ความโกรธเป็นหนึ่งในกลไกของจิตใจในการเยียวยา
ระยะต่อรอง (bargaining)
ลักษณะพิเศษคือมักเป็นการต่อรองกับตัวเองแฝงด้วยความรู้สึกผิด
4.ระยะซึมเศร้า (depression)
ผ่านระยะปฏิเสธ โกรธ และต่อรองไปแล้ว เราจะเริ่มเกิดการรับรู้ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ และเราต้องเผชิญความจริงอันโหดร้าย อารมณ์และความรู้สึกซึมเศร้าจะเริ่มเกิดขึ้น
ระยะยอมรับ (acceptance)
เริ่มยอมรับสภาพและภาวะต่างๆได้แล้ว สามารถยอมรับความจริง และพร้อมที่จะเผชิญสิ่งที่เกิดขึ้น
เป็นหน้าที่สำคัญของแพทย์ โดยสามารถแจ้งญาติโดยไม่ต้องแจ้งแก่ผู้ป่วย กรณี ผู้ป่วยเป็นเด็ก โรคทางจิต แนวโน้มทำร้ายตนเอง
บทบาทพยาบาล
1 สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัวประเมินการรับรู้ ความรู้สึก
2 รับฟังเห็นใจเปิดโอกาสซักถาม
3 ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
4 ระยะโกรธ ยอมรับบริการทางรถของผู้ป่วยและญาติปรึกษาแพทย์
ปรึกษาแพทย์
6 อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยและครอบครัว
ุ7 สะท้อนคิดครอบครัวหาเป้าหมาย
จัดการอาการที่รบกวนผู้ป่วย ไม่สุขสบาย
9 ให้ความมั่นใจในการดูแล
ทำหน้าที่แทนผู้ป่วยในการเรียกร้องปกป้องผู้ป่วยให้ได้รับประโยชน์
11 ให้ญาติและผู้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจรักษา
12 ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาความเชื่อ
13 ให้การช่วยเหลือในการจัดการสิ่งที่ค้างคาในใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะซึมเศร้าเนื่องจากไม่สามารถแสดงบทบาทหัวหน้าครอบครัวได้จากการเจ็บป่วยรุนแรง
มีความเครียดสูงเนื่องจากได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคร้ายแรง
-ไม่สามารถยอมรับสภาพความเป็นจริงเมื่อถึงวาระสุดท้ายของชีวิต
-หมดกำลังใจในการต่อสู้กับโรคที่เป็นเนื่องจากไม่มีความหวังในการรักษา
-ท้อแท้ผิดผิดหวังต่อโชคชะตาเนื่องจากคิดว่าถูกลงโทษหรือไม่ให้การช่วยเหลือจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์
-กลัวตาย
-จนปัญหาและการปรับตัวของครอบครัวไม่มีประสิทธิภาพ
-เศร้าโศกใจเนื่องจากสูญเสียบุคคลที่มีความสำคัญต่อตนเองต่อสิ่งต่างๆเนื่องจาก
-ขาดสิ่งยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ
ประเด็นทางจริยธรรม
หออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
คือการมุ่งรักษาให้ผู้ป่วยหาย แต่ palliative careไม่ได้มุ่งเน้นที่การหายจากตัวโรค
มโนทัศน์
การเจ็บป่วยระยะสุดท้าย คือภาวะที่ผู้ป่วยอยู่ในคอกภาวะความเจ็บปวดที่คุกคามต่อชีวิต
ภาวะใกล้ตาย หมายถึงผู้ที่เข้าสู่ช่วงใกล้เสียชีวิตมีคะแนน Palliative performance scale(PPS) น้อยกว่า 30
การดูแลแบบประคับประคองหรือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายหรือตามคำนิยามคือพื้นที่เป้าหมาย
เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้ป่วยที่มีโรคหรือภาวะคุกคามต่อชีวิตโดยการป้องกันและบรรเทาความทุกข์ทรมานต่างๆ
แนวคิดการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
1 แนวคิดการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care)
เป็นการดูแลผู้ป่วยที่มุ่งเน้นในช่วงของการเจ็บป่วยในช่วงปีสุดท้ายของชีวิต
2 แนวคิดการดูแลตามทฤษฎีความสุขสบาย (comfort theory)
ทฤษฎีความสุขสบาย (comfort theory)
โดยเป้าหมายเน้นความสุขสบายที่เป็นผลลัพธ์ทางของการพยาบาล
ความสุขสบาย แบ่งเป็น 3 ประเภท
1บรรเทา
2ความสงบผ่อนคลาย
3อยู่เหนือปัญหา
กิจกรรมการดูแลที่ส่งเสริมความสุขสบาย
1 มาตรฐานการพยาบาลเพื่อความสุขสบาย
2 การสอนแนะนำเป็นพี่เลี้ยง
3 อาหารด้านจิตวิญญาณ
4 การดูแลแบบประคับประคองมุ่งให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบหรือตายดี
ประเด็นจริยธรรมที่สำคัญในการพยาบาล
1 การการุณยฆาต หรือปราณีฆาต หรือเมตตามรณะ
2 ประเภทคือ
1 การทำการุณยฆาตโดยการโดยความสมัครใจ
2การทำกายภาพโดยที่ผู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้เอง
2การยืดหรือยุติการยุติการรักษาที่ชีวิต
2.1 การยับยั้งการใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบำบัดรักษา
2.2 การเพิกถอนการใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบำบัดรักษา
3 การฆ่าตัวตายโดยการโดยความช่วยเหลือของแพทย์
คือการฆ่าตัวตายโดยเจตนาและได้รับความช่วยเหลือจากแพทย์
4 การจัดสรรทรัพยากรที่มีจำนวนจำกัดพิจารณาจากผลการรักษา
5.การบอกความจริง เป็นประเด็นทางจริยธรรมที่พบได้ในผู้ป่วยวิกฤตเพื่อการเตรียมตัวเตรียมใจจัดการภาระค้าง
การบอกได้แก่ 1 บอกความจริงทั้งหมด
2 บทความจริงบางส่วน
3 การหลอกลวง
4 การประวิงเวลาการบอกความจริง
6 การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางจริยธรรม
1 ให้ความรู้แก่พยาบาล
2จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
3รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของพยาบาล
4 จริยธรรมสำหรับการทำงานของทีมสุขภาพ
หลักการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายใกล้ตาย
การสื่อสาร
2.การจัดการอาการไม่สุขสบายต่างๆ
การดูแลทั่วไป
การดูแลด้านอารมณ์และสังคมของผู้ป่วย+ครอบครัว
การดูแลด้สนจิจวิญญาณ
ดูแลให้ได้รับการประชุมครอบครัว
การดูแลให้ผู้ป่วยและญาติวางแผนการดูแลล่วงหน้า (ACP)
2ชนิด
1.Living will or พินัยกรรมชีวิต
2.Proxy บุคคลใกล้ชิดมีอำนาจตัดสินใจการดูแลทางการแพทย์วาระสุดท้าย
8.การดูแลผู้ป่วยกำลังจะเสียชีวิต(manage dying patient)
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง (bereavement care)
หลักการพยาบาล ดูแลระยะใกล้ตาย
1.ประเมินสภาพ
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
1ซึมเศร้า 2 วิตกกังวล 3สับสน
ด้านสังคม
ด้านจิตวิญญาณ
2.ประเมิน ระดับ PPS
วัดความสามารถ 5 ด้าน
การเคลื่อนไหว
กิจกรรม+รุนแรงโรค
การดูแลตนเอง
การกิน
ความรู้สึกตัว
3กลุ่ม
อาการคงที่ >70%
ระยะสุดท้าย 0-30 %
ระหว่างกลุ่ม 40-70%
พยากรณ์เวลาในการมีชีวิต เป็นวัน