Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเบื้องต้นกลุ่ม อาการทางผิวหนัง - Coggle Diagram
โรคเบื้องต้นกลุ่ม
อาการทางผิวหนัง
อาการทางผิวหนัง
ผิวหนังอักเสบ
Impetigo
S.aureus, Streptococci group A
เริ่มจากผื่นแดงและคัน
ตุ่มน้ำใสเล็กๆ ฐานแดง
ต่อมาเป็นตุ่มหนอง
แตกกลายเป็นสะเก็ดเหลืองกรัง
ลักษณะคล้ายรอยบุหรี่
Ecthyma
Streptococci group A,
Staphylococci
เริ่มจากตุ่มแดง ตุ่มน้้ำ หรือตุ่ม
หนองเล็กๆ มีฐานสีแดง
โตขึ้นช้าๆ ต่อมามีสะเก็ดหนาปกคลุม
สะเก็ดสีคล้ำติดแข็ง ข้างใต้เป็นหนอง
Cellulitis
Deeper layer: subcut.fat
ผื่นแดงจัด ขอบผื่นไม่ชัดเจน และไม่
ยกนูนจากผิวหนังปกต
Acute infection
การรักษา
ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
ประคบด้วยน้ำอุ่น สะอาด/ NSS wet dressing
Proper hygiene/ clean wound/ I&D
swab, culture
Antibiotic: Dicloxacillin (250-500 mg) qid 7-14 day, Erythromycin (250-500 mg) qid 7-14 day
If trauma history: TT vaccine
ฝี
Carbuncle
Perifollicular inflammation
ปัจจัยก่อโรค: DM, obese, poor
hygiene, ถอนขน
Abscess
Collection of pus in subcut.fat
Localized tender nodule/cyst,
fluctuation
Lymphadenopathy
อาการไข้มีผื่น
Rubella
เชื้อ Rubella virus
ติดต่อโดยการหายใจ ระยะฟักตัว 14-21 วัน ระยะที่ติดต่อ
กันมากคือ 5 วัน ก่อนมีผื่นขึ้น จนถึง 6 วันหลังผื่นขึ้น
ไข้ 37.5-38.5 c ไข้ต่ำๆ ปวดศีรษะ ปวดตา เจ็บคอ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาการคล้ายไข้หวัดเป็นอยู่ 1-5 วันก่อนขึ้นผื่น และจะทุเลาเมื่อมีผื่นขึ้นแล้ว
ให้การรักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้ ยาแก้ผดผื่นคัน และแยกผู้ป่ วยจนกว่าจะพ้นระยะติดต่อ
Roseola Infantum
เชื้อ Human herpes virus type 6 (HHV6)
การรักษา
ก็ไม่ต้องให้ยาใดๆ โรคมักหายได้เองภายใน 3-5 วันหรือไม่เกิน 1 สัปดาห์
ระยะผื่นขึ้น ไข้ลงแล้วและเด็กมีท่าทางสบายดี ดื่มนม รับประทานอาหารได้
ระยะมีไข้สูงให้ดื่มน้้ำมากๆเช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดไข้
ไข้สูง39.5-40.5 c ในระยะก่อนผื่นขึ้น 3-5 วัน จากนั้นเมื่อไข้ลด พบผื่นราบสีแดงขนาด 2-5 mm. ที่ลําตัว คอ แขน
ติดต่อทางระบบทางเดินหายใจและการสัมผัส ระยะฟักตัว 5-15 วัน
LAB
CBC = WBC อยู่ในช่วง 8,000 /mm3โดยมี neutrophil เด่น ต่อมาใน
ช่วงวันที่ 3 ของไข้ จํานวน WBC จะต่ำลงประมาณ 6000/mm3 และมี lymphocyte เด่น
Measles
เชื้อ Rubeola virus
ติดต่อโดยการหายใจ ระยะติดต่อตั้งแต่ 4 วันก่อนขึ้นผื่น
จนถึง 4 วันหลังเริ่มมีผื่นขึ้น
ระยะฟักตัว 10-12 วัน
ระยะไข้ 2-3 วัน ไข้ต่ำๆและ ไอ น้ำมูกไหล ตาแดง
ระยะผื่นออก ในระยะนี้ผู้ป่วยมีไข้สูง 40-40.5 °C
ให้รักษาตามอาการ และแยกผู้ป่วยจนกว่าจะพ้นระยะติดต่อ
scrub typhus
เชื้อ Rickettsiae
มีแมลงนําโรคได้แก่ ไร (mite) เห็บ (tick) หมัด (flea) และ
เหาตัว (body louse)
มีไข้สูงแบบ “intermittent”
อาจอยู่นาน 2-3 สัปดาห์
อาการแสดงอืานๆ ที่พบร่วมเป็ นอาการไม่จําเพาะ ได้แก่ ตาแดง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัวคลื่นไส้อาเจียน ปวดท้องอุจจาระร่วง ไอแห้งๆ
รอยแผล ส่วนใหญ่พบถูกกัดในบริเวณร่มผ้า และกัดบริเวณ ขาหนีบ รักแร้ ซอกพับ
รักษา
ถ้าอาการไม่รุนแรงให้ยา doxycycline loading dose ในวันแรก 2.2 มก./ กก./ครั้ง 2ครั้ง แล้วตามด้วย 2.2 มก./กก./วัน แบ่งให้วันละ 2 ครั้ง ให้ เป็นเวลารวม 5 วัน
ถ้าอาการรุนแรง เช่น หอบ หัวใจวาย ไตวาย ต้อง refer ทันที
Vesiculopustular rash
varicella zoster virus
อาการ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหารเล็กน้อย ปวดเมื่อยตามัว มีผื่นขึ้นพร้อมกับวันที่เริ่มมีไข้
หรือ 1 วันหลังจากมีไข้ เป็นผื่นราบสีแดงก่อน จากนั้น 2-3 ชม.ต่อมาจะกลายเป็ นตุ่มนูน และตุ่มน้้ำใสขนาดเล็ก (2-3 mm.)
ตุ่มจะขึ้นที่ลําตัวก่อน แล้วลุกลามไปที่ใบหน้า
หนังศีรษะ แขนขา มักคันบริเวณที่มีตุ่มใสขึ้น
ติดเชื้อครั้งแรกจะเป็ นโรคสุกใส (chickenpox)
หลังจากนั้น เชื้อจะเข้าไปซ่อนตัวอยู่ที่ dorsal root ganglion เมื่อภูมิต้านทาน ของร่างกายต่่ำลง จะเกิดเป็ น งูสวัด (zoster
LAB
การตรวจน้ำใน vesicle จะพบ multinucleated giant cell โดยวิธี Tzanck smear
รักษา
ควรแยกผู้ป่ วยจนพ้นระยะติดต่อ (ระยะติดต่อตั้งแต่ 24 ชม.ก่อนมีผื่นขึ้น จนตุ่มตกสะเก็ดหมดแล้วหรือประมาณ 6 วันหลังตุ่มขึ้น) และรักษาตามอาการ
ถ้าตุ่มมีการติดเชื้อแบคทีเรียให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Dicloxacillin,Erythromycin
Herpes simplex virus type I,II or Human herpes virus I,II
อาการ
ตุ่มน้้ำใสขนาด 2-3 mm. ขึ้นอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม โดยรอบ จะเป็ นผื่นแดง ต่อมาตุ่มน้ำใสจะกลายเป็ นสีเหลืองขุ่น
แตกออกภายใน2-3วัน กลายเป็ นสะเก็ดหายไปได้เอง
ภายใน 1-2 สัปดาห์
การรักษา
ถ้าอาการแสดงชัดเจนรักษาตามอาการ เช่น ให้ยาแก้ ปวด ยาต้านไวรัส Acyclovir ผู้ใหญ่ขนาด 400 mg วันละ 3-5 ครั้ง 7-10 วัน เด็กขนาด 15 mg/kg วันละ5ครั้งนาน 7 วัน
ถ้าอาการไม่ชัดเจน หรือเป็ นที่ตา หรือมีภาวะแทรกซ้อน เช่น สมองอักเสบ ตับอักเสบ ให้ส่งพบแพทย์
Enterovirus
สัมผัสกับสารคัดหลั่งจากจมูก ลําคอ หรือน้้ำจากในตุ่มน้้ำใส และ ติดต่อ
ทาง fecal – oral
อาการ
ไข้ 38-39 c อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร จากนั้น 1-2 วัน จะมีน้ำมูก เจ็บปาก เจ็บคอ ไม่ยอมดูดนม ไม่อยากรับประทานอาหาร
พบผื่นลักษณะเป็ นจุดแดงราบ ตุ่มนูน หรือตุ่มน้้ำที่มือ เท้า ฝ่ามือฝ่าเท้า แก้มก้น ขนาด 3-7 mm
รักษา
หายได้เองโดยใช้ระยะเวลาประมาณ 7 วัน เน้นการรักษาตามอาการ โดย เฉพาะการลดไข้ ลดอาการเจ็บปวดจากแผลในปาก อาจใช้ยาชาป้ ายบริเวณที่เป็ นแผลก่อนรับประทานอาหาร ให้ดื่มน้ำมากๆเพื่อป้ องกันภาวะขาดน้ำ
ถ้ามีอาการปวดศีรษะรุนแรง อาเจียนรุนแรง ไม่ค่อยรู้สึกตัว แขนขาอ่อน แรง ชัก หรือหายใจหอบ รีบส่งโรงพยาบาลด่วน
ควรแยกผู้ป่ วยประมาณ 2สัปดาห์ หรือจนกว่าตุ่มแผลจะหายดี และให้ปิ ดปากจมูกด้วยผ้าเวลาไอจาม