Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต…
บทที่ 4 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง (bereavement care)
การช่วยปลดเปลื้องสิ่งที่ค้างคาใจ
แนะนําให้ผู้ป่วยปล่อยวางสิ่งต่างๆ
ช่วยให้จิตใจจดจ่อกับสิ่งดีงาม อาจน้อมนําได้หลายวิธี
สร้างบรรยากาศที่สงบและเป็นส่วนตัว
ช่วยให้ผู้ป่วยยอมรับความตายที่จะมาถึง
สนับสนุนให้มีสถานที่หรือกิจกรรมส่งเสริมด้านจิตวิญญาณ
สอบถามและส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติตามศรัทธาความเชื่อเพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีความสงบผ่อนคลายในระยะสุดท้าย
ประเมินและบันทึกความต้องการทางจิตวิญญาณในระหว่างการดูแลเป็นระยะ
การพักผ่อนนอนหลับ
การเปิดแสงไฟจ้าเกินไป
ให้ได้รับสารน้ําอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การดูแลความสะอาดร่างกาย
Living will หรือพินัยกรรมชีวิต
หนังสือที่เกิดจากการพิมพ์หรือเขียน หรือแสดงเจตนาด้วยวาจาต่อแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สุขภาพ ญาติ หรือผู้ใกล้ชิด
Proxy
บุคคลใกล้ชิดที่ผู้ป่วยมอบหมายให้มีอํานาจตัดสินใจในเรื่องการดูแลทางการแพทย์ในวาระสุดท้ายของตน
บทบาทของพยาบาลในการดูแลให้ผู้ป่วยและญาติเข้าถึงการวางแผนการดูแลล่วงหน้า
การรวบรวมเอกสาร
การคอยช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยต้องการทําการวางแผนการดูแลล่วงหน้า
การสื่อสาร โดยการสื่อสารร่วมกันระหว่างทีมสุขภาพกับผู้ป่วยและญาติ
ควรทําการพูดคุยเกี่ยวกับการวางแผนและการคุยเป้าหมายการรักษา สาเหตุที่ควรใช้หัตถการต่างๆ มาเป็นข้อบ่งชี้ในการเริ่มพูดคุยเกี่ยวกับเป้าหมายการรักษา
เป็นกิจกรรมที่มีเป้าหมายสําคัญเพื่อสร้างความเข้าใจที่ดีระหว่างทีมสุขภาพกับผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับโรคและระยะของโรครวมไปถึงการดําเนินโรคและการพยากรณ์โรค
การสื่อสารที่ดี และดูแลช่วงใกล้เสียชีวิตอย่างใกล้ชิด สามารถช่วยลดการเกิดความเครียดจากการสูญเสียคนรักได้ (post-traumatic stress disorder)
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่างๆ
อาการบวม
อาการคัน
อาการกลั้นปnสสาวะไม่ได้
การเกิดแผลกดทับ
อาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
อาการหอบเหนื่อย หายใจลําบาก
อาการท้องผูก
อาการปวด
อาการไอ
อาการท้องมานหรือบวมในท้อง
อาการปากแห้ง เจ็บในปาก กลืนลําบาก
ทําความสะอาดใบหน้า ช่องปาก และร่างกายผู้ป่วย
ยุติการรักษาที่ไม่จําเป็น
ควรปิดประตูหรือปิดม่านให้มิดชิด
นําสายต่างๆ ที่ไม่จําเป็นออก
ยุติการเจาะเลือด
ให้คงไว้เพียงการรักษาที่มุ่งเน้น
ทําการปิดเครื่องติดตามสัญญาณชีพต่างๆ
ให้คุมอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
อธิบายครอบครัวถึงอาการต่างๆที่อาจเกิดขึ้น
ให้ยาที่มักจําเป็นต้องได้
ควรทําการยุติการให้ผู้ป่วยได้รับยาหย่อนกล้ามเนื้อ
การสื่อสาร
บทสนทนาควรเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วยมากกว่าโรค
ปล่อยให้มีช่วงเงียบ เพื่อให้ญาติได้ทบทวน
มีความเห็นใจครอบครัวที่ต้องประเชิญเหตุการณ์นี้
บอกการพยากรณ์โรคที่ตรงจริงที่สุด
ให้เกียรติครอบครัวโดยการฟังอย่างตั้งใจ
เนื้อหาที่จะพูดคุยนั้นอาจแบ่งตามช่วงเวลาที่ผู้ป่วยเข้ารักษาในไอซียู
ควรมีแผ่นพับแนะนําครอบครัวถึงการเตรียมตัว
ปิดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้งที่พูดคุยกับครอบครัว
หลีกเลี่ยงคําศัพท์แพทย์
หลักการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายใกล้ตาย
การประเมินสภาพ
การประเมินด้านจิตใจ ผู้ป่วยในระยะสุดท้ายจะมีความผิดปกติทางด้านจิตใจ
ภาวะวิตกกังวล (Anxiety)
ภาวะสับสน (Delirium)
ภาวะซึมเศร้า (Depression)
การประเมินด้านสังคม
ความรักความผูกพันของผู้ป่วยกับสมาชิกในครอบครัว
ความต้องการของครอบครัว
บทบาทของผู้ป่วยในครอบครัว
ผู้ดูแลผู้ปาวย (Care giver)
ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม
เครือข่ายทางสังคมและการสนับสนุนทางสังคม
การประเมินอาการทางร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบประสาท
ระบบการควบคุมหูรูด
ระบบขับถ่าย
การประเมินด้านจิตวิญญาณ
ความต้องการของผู้ป่วยในด้านจิตวิญญาณเกี่ยวข้องกับปรัชญาชีวิต เป้าหมายชีวิต หรือคุณค่าทางด้านจิตใจ ความเชื่อทางศาสนา
การประเมินระดับ Palliative Performance Scale (PPS)
จุดประสงค์ของการใช้ PPS
ใช้เป็นเกณฑ์การเลือกผู้ป่วยเพื่อเข้าดูแลในสถานที่ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Hospice)
ใช้บอกความยากของภาระงานของบุคลากรทางการแพทย์และครอบครัวในการดูแลผู้ป่วย
เพื่อประเมินพยากรณ์โรคอย่างคร่าวๆ และติดตามผลการรักษา
ใช้ในการวิจัย
เพื่อสื่อสารอาการปัจจุบันของผู้ป่วยระหว่างบุคลากรในทีมที่ร่วมกันดูแลผู้ป่วย เพื่อให้มองเห็นภาพของผู้ป่วยและการพยากรณ์โรคไปในแนวทางเดียวกัน
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติ
การปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาลนั้นๆ มาร่วมดูแลในผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
การดูแลแบบผสมผสาน
ทีมสุขภาพที่ทํางานในไอซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว ผู้ป่วยที่เข้ารักษาในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติมักขาดการเตรียมตัวเพื่อรับมือกับภาวะสุขภาพที่ทรุดลงอย่างเฉียบพลัน
ความไม่แน่นอนของอาการ การรักษาในไอซียูผู้ป่วยมีโอกาสที่จะดีขึ้นแล้วกลับไปทรุดลงได้หลายครั้ง อาจส่งผลให้ผู้ป่วย ครอบครัว และทีมสุขภาพอาจเข้าใจว่าเมื่อแย่ลงก็จะสามารถกลับมาดีขึ้นเหมือนเดิมได้
Multidisciplinary team ในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติมีทีมแพทย์ที่ดูแลรักษาร่วมกันมากกว่า 1 สาขา
Professional culture บุคลากรของทีมสุขภาพที่ทํางานอยู่ในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติจะคุ้นชินกับการรักษาผู้ป่วยเพื่อมุ่งให้มีชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤต
ทรัพยากรมีจํากัด
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มลูกละเลย
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตไอซียู เป็นหอผู้ป่วยที่มีอัตราการตายสูง แต่สิ่งแวดล้อมในไอซียูส่วนใหญ่มักจะพลุกพล่าน วุ่นวาย มีเสียงสัญญาณเตือนดังเกือบตลอดเวลา
การแจ้งข่าวร้าย (Breaking a bad news)
ข่าวร้าย
ข้อมูลที่ทําให้เกิดความรู้สึกหมดความหวัง มีผลกระทบต่อความรู้สึก การดําเนินชีวิต และอนาคตของบุคคลนั้น
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะโกรธ (Anger)
ความโกรธเป็นภาวะธรรมชาติ และเป็นการเยียวยาความรู้สึกที่เกิดจากสูญเสีย
ข่าวร้ายที่ได้รับ ความโกรธอาจจะขยายไปยังแพทย์ ครอบครัว ญาติ เพื่อน และทุกอย่างรอบตัว
ระยะต่อรอง (Bargaining)
เป็นระยะที่ต่อรองความผิดหวังหรือข่าวร้ายที่ได้รับ
การต่อรองมักจะแฝงด้วยความรู้สึกผิดไว้ด้วย อาจจะรู้สึกว่าตนเองมีความผิดที่ยังไม่ได้ทําบางอย่างที่ค้างคา หรือยังไม่ได้พูดอะไรกับใคร
ระยะปฏิเสธ (Denial)
ไม่เชื่อ ไม่ยอมรับความจริง ไม่เชื่อผลการรักษา และอาจขอย้ายสถานที่รักษา
เป็นระยะแรกหลังจากผู้ป่วยและญาติรับทราบข้อมูล จะรู้สึกตกใจ ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้
ผู้ป่วยและญาติจะเริ่มรับรู้ว่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
ความรู้สึกซึมเศร้าจะเริ่มเกิดขึ้น ระดับความรุนแรงขึ้นอยู่กับ ความเข้มแข็งของแต่ละบุคคล และสภาพแวดล้อมของแต่ละบุคคล
เมื่อผ่านระยะปฏิเสธ เสียใจ หรือระยะต่อรองไปสักระยะ
เบื่อหน่าย เก็บตัว
ไม่ค่อยพูดคุย ถามคําตอบคํา
ออกห่างจากสังคมรอบข้าง
เริ่มยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง อารมณ์เจ็บปวดหรือซึมเศร้าดีขึ้น และมองเหตุการณ์อย่างพิจารณามากขึ้น
มองเป้าหมายในอนาคตมากขึ้น ปรับตัว และเรียนรู้เพื่อให้ดําเนินชีวิตต่อไปได้
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจให้ผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
ในระยะโกรธ ควรยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติโดยไม่ตัดสิน
รับฟnงผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ เห็นใจ เปิดโอกาสให้ได้ซักถามข้อสงสัย
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การดําเนินโรค แนวทางการรักษา
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยและญาติว่า แพทย์และทีมสุขภาพทุกคนจะให้การดูแลอย่างดีที่สุด
สะท้อนคิดให้ครอบครัวค้นหาเป้าหมายใหม่ในชีวิตอย่างมีความหมาย
อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่กําลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย ให้ข้อมูลที่เป็นความจริงเกี่ยวกับพยาธิสรีรวิทยาของโรค การดําเนินโรคอาการที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
จัดการกับอาการที่รบกวนผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับความสุขสบาย ควบคุมความปวด และช่วยเหลือในสิ่งที่ผู้ป่วยต้องการ
ทําหน้าที่แทนผู้ป่วยในการเรียกร้อง ปกป้องผู้ป่วยให้ได้รับประโยชน์ และปกป้องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตามหลักจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาล
ให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการรักษา
ให้การช่วยเหลือในการจัดการสิ่งที่ค้างคาในใจ เพื่อให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบ
ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามความเชื่อ
มโนทัศน์เกี่ยวกับการเจ็บป่วยระยะท้ายและภาวะใกล้ตาย
ภาวะใกล้ตาย
ผู้ที่เข้าสู่ช่วงใกล้เสียชีวิต มีอาการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายมากขึ้น จากการทําหน้าที่ของอวัยวะสําคัญของร่างกายลดลงหรือล้มเหลว
การดูแลแบบประคับประคอง
วิธีการดูแลที่มุ่งเน้นเป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วยที่มีโรคหรือภาวะคุกคามต่อชีวิต โดยการป้องกันและบรรเทาความทุกข์ทรมานต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยและครอบครัว
การดูแลระยะท้าย (End of life care)
การดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะท้ายของโรคโดยใช้หลักการดูแลแบบประคับประคองเป็นแนวทางการให้บริการ
การเจ็บป่วยระยะท้าย
ภาวะบุคคลอยู่ในภาวะความเจ็บป่วยที่คุกคามต่อชีวิต มีการดําเนินโรคลุกลามอย่างมาก ทําให้การทําหน้าที่ของอวัยวะต่างๆของร่างกายไม่สามารถกลับคืนสู่ภาวะปกติ
แนวคิดการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แนวคิดการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care)
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิตมักใช้รูปแบบการดูแลแบบประคับประคองที่เป็นการดูแลผู้ป่วยที่มุ่งเน้นในช่วงของการเจ็บป่วยในช่วงปีหรือเดือนท้ายๆของชีวิต
เป็นการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบองค์รวมโดยครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ โดยยึดตามความเชื่อทางด้านศาสนา วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีปฏิบัติของผู้ป่วยและครอบครัวเป็นสําคัญ
แนวคิดการดูแลตามทฤษฎีความสุขสบาย (comfort theory)
ความสงบ ผ่อนคลาย (ease)
ความไม่สุขสบายหายไป หรือสงบผ่อนคลาย
อยู่เหนือปnญหา (transcendence)
ความสุขที่อยู่เหนือความไม่สุขสบายทั้งปวงแม้ว่าจะไม่สามารถขจัดหรือหลีกเลี่ยงได้
บรรเทา (relief)
ความไม่สุขสบายที่มีอยู่ทุเลาเบาบางลง
ระยะซึมเศร้า (Depression)
ระยะยอมรับ (Acceptance)
การแสดงออกอาจมีหลายลักษณะ
บทบาทพยาบาล
การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต (End of life care in ICU)
การดูแลทั่วไป
การดูแลด้านอารมณ\และสังคมของผู้ป่วยและครอบครัว (Psychosocial care)
การดูแลด้านจิตวิญญาณผู้ป้วยระยะสุดท้ายและครอบครัว
ดูแลให้ได้รับการประชุมครอบครัว (Family meeting)
การดูแลให้ผู้ป่วยและญาติเข้าถึงการวางแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning [ACP])
การดูแลผู้ป่วยที่กําลังจะเสียชีวิต (manage dying patient)
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง (bereavement care)
นางสาวชนาพร พนาสง่าวงศ์ 6101210439 เลขที่ 18 sec.A