Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ ของรกน้ําคร่ำ และความผิดปกติของทารก…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ ของรกน้ําคร่ำ และความผิดปกติของทารกในครรภ์
4.ทารกพิการแต่กําเนิด
ภาวะจิตสังคมของครอบครัว
ระยะคลอด
ความเครียด กลัว วิตกกังวล เนื่องจากไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าว่าผลการคลอดจะเป็นอย่างไร
ระยะหลังคลอด
ครอบครัวอาจจะเข้าสู่ระยะเศร้าโศก
ระยะตั้งครรภ์
เกิดความเครียดและวิตกกังวลสูงเมื่ออยู่ในระยะที่ต้องตัดสินใจ ตรวจสอบความผิดปกติของทารกในครรภ์
ปากแหว่งเพดานโหว่
อาการและอาการแสดง
ทารกที่มีปากแหว่งเพียงอย่างเดียว
ทารกที่มีเพดานโหว่มักจะสําลักน้ํานมขึ้นจมูก
การได้ยินผิดปกติ
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น
การพยาบาลทารกแรกเกิด
ดูแลด้านจิตใจสําหรับบิดา มารดา
ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการดูแลทารกแรกเกิดที่พบปัญหาปากแหว่ง เพดานโหว่
ดูแลการให้นมแม่
กรณีที่ทารกไม่สามารถดูดนมแม่ได้แนะนํามารดา
4.2 ใช้ช้อนหรือแก้ว
4.3 ใช้ syringe ต่อกับท่อยางนิ่ม
4.1 ให้ใช้ขวดนมพิเศษที่เป็นพลาสติกอ่อน
4.4 จัดท่าทารกให้อยู่ในท่านอนหัวสูง
ภายหลังการให้ทารกดูดนมหรือให้นมต้องไล่ลมเป็นระยะ ๆ ทุก 15-30 นาที
สาเหตุ
กรรมพันธุ์ ครอบครัวที่มีพ่อแม่หรือญาติทางฝ่ายพ่อหรือแม่มีประวัติเป็น
สิ่งแวดล้อม
การป้องกัน
1.ได้รับการให้คําแนะนําปรึกษาทาง พันธุศาสตร์ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์
2 เมื่อตั้งครรภ์ จะทําการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
3 การให้คําปรึกษาภายหลังการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
4 หลีกเลี่ยงการสัมผัส teratogen
ดาวน์ซินโดรม
อาการ
ลักษณะภายนอกที่พบ
1.2 จมูกและหู มีจมูกไม่มีสัน ใบหูเล็กอยู่ต่ํากว่าปกติ
1.3 ปากและคอ มีเพดานปากโค้งนูน
1.1 ศีรษะและตา มีศีรษะแบนกว้าง
1.4 ทรวงอกและหัวใจ มีกระดูกซี่โครงสั้นกว่าปกติ
1.5 ท้อง มีหน้าท้องยื่น
1.6 มือและเท้า มีมือกว้างและสั้น
1.7กล้ามเนื้อและกระดูก ตัวเตี้ย
มักพบความพิการอย่างอื่นร่วมด้วย
การเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์
การรักษา
การรักษาในปัจจุบันเป็นการรักษาแบบประคับประคองตามอาการ มุ่งเน้นให้เด็กสามารถ ช่วยเหลือตัวเองได้
สาเหตุ
มีโครโมโซมเกินไป 1 แท่ง
ความผิดปกติของทารกสามารถแบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม
Disruption
เป็นผลมา จากปัจจัยภายนอกมาขัดขวางขบวนการเจริญเติบโตของอวัยวะนั้น
Deformation
มีผลมาจากแรงภายนอกทําให้โครงสร้างที่กําลังพัฒนาผิดรูปไป
Malformation
เป็นความผิดปกติทางรูปร่างของอวัยวะ เป็นผลมาจากขบวนการเจริญเติบโตของอวัยวะนั้น
เป็นผลมา จากความผิดปกติของการจัดระเบียบของเซลล์ที่จะเจริญไปเป็นเนื้อเยื่อ
ทารกศีรษะบวมน้ําหรือภาวะน้ําคั่งในโพรงสมอง
การรักษา
ขณะตั้งครรภ์ครรภ์
อาจพิจารณายุติการตั้งครรภ์
รักษาด้วยการใส่ shunt ในครรภ์
รายไม่รุนแรงและไม่ความผิดปกติอื่น ๆ
การดูแลทารก
ให้การพยาบาลทารกแรกเกิดโดยทั่วไป
ให้การพยาบาลตามอาการ
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจสภาพของทารก
ทารกศีรษะเล็ก
ให้การพยาบาลทารกแรกเกิดโดยท่ัวไป
ให้การพยาบาลตามอาการและอาการแสดง
สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจเก่ียวกับสภาพของทารก
เยื่อหุ้มไขสันหลังยื่น
ชนิดของกระดูกสันหลังโหว่
spin bifida occulta เป็นความผิดปกติของกระดูกสันหลังตรงตําแหน่ง vertebal arches
spina bifida cystica เป็นความผิดปกติของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง
การพยาบาล
1.โดยเฉพาะท่านอนให้นอนในท่าตะแคง
ให้การพยาบาลตามอาการ
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับสภาพทารก
บันทึกอาการและการพยาบาล
ภาวะหลอดประสาทไม่ปิด
สาเหตุของการเกิด NTDs
Genetic factors: 95% ของมารดาที่ให้กําเนิดทารก NTD ไม่มีประวัติในครอบครัวมาก่อน แต่มีหลายหลักฐานที่ระบุว่า NTD มีความเกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางพันธุกรรม
Environmental factors: ปัจจัยภายนอกที่อาจเกี่ยวข้องกับการเกิด NTD มีหลาย ป ั จ จ ั ย อ า ทิ geography, ethnicity, nutrition, maternal illness, ฯลฯ
5.ทารกตายในครรภ์
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยการ ultrasound
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ด้านร่างกาย
ทารกตายในครรภ์เป็นเวลาตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป จะมีโอกาสเกิดภาวะเลือด ไม่แข็งตัว
ด้านจิตใจ
เกิดความรู้สึกสูญเสีย ตกใจ ซึมเศร้า โทษตัวเอง
สาเหตุ
ด้านทารก
มีภาวะพิการแต่กําเนิด
ทารกมีภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ
มีการกดทับสายสะดือจากสายสะดือย้อย
ด้านรก
รกลอกตัวก่อนกําหนด
ด้านมารดา
มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์โรคทางอายุรศาสตร์
มารดาอายุมากกว่า 35 ปี
ภาวะทางสูติกรรม
ไม่มาฝากครรภ์
มีภาวะรกลอกตัวก่อนกําหนด รกเกาะต่ำ
ความผิดปกติของสายสะดือ
ได้รับอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บขณะตั้งครรภ์
ยาหรือสารเสพติดอื่น ๆ
การรักษา
ไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ ขนาดของมดลูกโตไม่เกิน 14 สัปดาห์ ทําการ dilatation and curettage หรือ suction curettage
ช่วงไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์ เหน็บยา prostaglandin
ไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์ ให้ oxytocin ปริมาณความเข้มข้นสูง ทางหลอดเลือดดํา
การพยาบาล
ให้การประคับประคองทางด้านจิตใจ แสดงความเห็นอกเห็นใจ
แนะนําให้สามีและครอบครัวให้กําลังใจ ปลอบใจ
ประเมินความต้องการสัมผัสกับทารกแรกคลอดที่เสียชีวิต
ดูแลให้ได้รับการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ตามแผนการรักษาของแพทย์
ติดตามผลการตรวจเลือดเพื่อหาระยะการแข็งตัวของเลือด
ให้ได้รับยายับยั้งการหลั่งน้ํานมตามแผนการรักษาของแพทย์
1.ภาวะน้ําคร่ำผิดปกติ
ภาวะน้ําคร่ำมากผิดปกติ หรือการตั้งครรภ์แฝดน้ํา
พยาธิสรีรวิทยา
ความสมดุลของปริมาณน้ําคร่ำในครรภ์มารดา สัมพันธ์กับปริมาณของเหลวที่เข้าและออกจากถุง น้ําคร่ำ
สาเหตุ
ด้านทารก
ความผิดปกติของระบบประสาท การ อุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร ความพิการของทารกในครรภ์
ไม่ทราบสาเหตุ
ี่พบได้บ่อยที่สุดถึงร้อยละ 60 ซึ่งวินิจฉัยไม่พบความผิดปกติของ มารดาและทารกในครรภ์
ด้านมารดา
มารดาเป็นโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์แฝด
อุบัติการณ์
การเกิดครรภ์แฝดน้ําพบประมาณร้อยละ1ของการตั้งครรภ์
การจําแนกชนิด
ภาวะน้ําคร่ำมากอย่างเฉียบพลัน
พบได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 20-24 สัปดาห์
มีปริมาณน้ําคร่ำเพิ่มขึ้นมากอย่างรวดเร็วภายใน 2-3 วัน
ให้สตรีตั้งครรภ์มีอาการไม่ สุขสบาย ปวดหลังและหน้าขา แน่นอึดอัดในช่องท้อง ฯลฯ
ภาวะน้ําคร่ำมากเรื้อรัง
ปริมาณน้ําคร่ำจะค่อยๆเพิ่มขึ้น
อาการแสดงจะคล้ายๆกันกับภาวะน้ําคร่ำมากอย่างเฉียบพลัน แต่จะเกิดขึ้นอย่างช้าๆ
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีน้ําคร่ำมาก ผิดปกติ เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ 95 หรือ 97.5 ของแต่ละอายุครรภ์
ผลต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
อาจเกิดการคลอดก่อนกําหนด
ช็อคจากความดันในช่องท้องลดลงอย่างรวดเร็ว
ระยะตั้งครรภ์ เกิดความไม่สุขสบายจากการกดทับของมดลูกที่มีขนาดใหญ่
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อหลังคลอด
ผลต่อทารก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพิการ และการคลอดก่อนกําหนด
เกิดภาวะ fetal distress จากการเกิดสายสะดือย้อย
ทารกอยู่ท่าผิดปกติและไม่คงที่ เนื่องจากมีปริมาณน้ําคร่ํามาก
อาการและอาการแสดง
มีอาการบวมบริเวณเท้า ขา และปากช่องคลอด
น้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น
แน่นอึดอัด หายใจลําบาก เจ็บชายโครง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การหาค่า amniotic fluid index (AFI)
การซักประวัติอาการ และอาการแสดงการเกิดภาวะครรภ์แฝดน้ํา
การดูแลรักษา
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
ให้ยาขับปัสสาวะหากพบมีภาวะบวม
การรักษาด้วยยา prostaglandin synthetase inhibitors
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
การเจาะดูดน้ําคร่ำออก
การเจาะถุงน้ําในระยะคลอด ให้น้ําคร่ำไหลช้าที่สุด
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องในรายที่มีส่วนนําและท่าของทารกที่ผิดปกติ
ในระยะหลังคลอดหากมารดามีอาการตกเลือดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ประเมินการเกิดภาวะตั้งครรภ์แฝดน้ํา
ดูแลเพื่อบรรเทาอาการอึดอัดแน่นท้องจากการขยายตัวของมดลูก
ระยะคลอด
ให้นอนพักบนเตียง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ฟัง FHS ในระยะ latent ทุก 30 นาที และระยะ active ทุก 15 นาที
ให้ได้รับสารน้ําและอาหารตามแผนการรักษา
ขณะแพทย์เจาะถุงน้ํา ต้องระมัดระวังให้น้ําคร่ําไหลออกมาอย่างช้าๆ
ระยะหลังคลอด
ให้การพยาบาลเหมือนกับสตรีตั้งครรภ์แฝด
ภาวะน้ําคร่ำน้อย
การวินิจฉัย
การวัดโพรงน้ําคร่ำที่ลึกที่สุดในแนวดิ่ง
การวัดดัชนีน้ําคร่ำ amniotic fluid index (AFI) มีค่าน้อยกว่า 5 เซนติเมตร
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
มีโอกาสผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้องมากกว่าการตั้งครรภ์ปกติ
ผลต่อทารก
มีโอกาสคลอดก่อนกําหนด
ภาวะปอดแฟบ
Amnioticbandsyndrome
ทารกอยู่ในภาวะคับขัน
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับการใส่สารน้ําเข้าไปในถุงน้ําคร้ำ
รับฟังปัญหาแสดงความเห็นอกเห็นใจและกระตุ้นให้ระบายความรู้สึก
อธิบายถึงสาเหตุการเกิดภาวะดังกล่าวและแนวทางการรักษา
สาเหตุ
ถุงน้ําคร่ำแตกก่อนกําหนด
ทารกในครรภ์มีภาวะผิดปกติโดยเฉพาะระบบของไตและระบบทางเดินปัสสาวะ
ความผิดปกติของโครโมโซม
รกเสื่อมสภาพ
การตั้งครรภ์เกินกําหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีน้ําคร่ำน้อยกว่า 300 มิลลิลิตร
การรักษา
การดื่มน้ํามากๆ ทําให้ปริมาณน้ําคร่ำเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
การประเมินภาวะความผิดปกติแต่กําเนิด
การเติมน้ําคร่ำ
3.การตั้งครรภ์ที่มีจํานวนทารกมากกว่า 1 คน
การประเมินหรือการวินิจฉัย
การตรวจร่างกายตรวจหน้าท้องตรวจภายใน
การตรวจพิเศษ
การซักประวัติ
แนวทางการดูแลรักษา
ต้องวินิจฉัยให้ได้เร็วที่สุด
ป้องกันการคลอดก่อนกําหนด
ดูแลการเจริญเติบโตของทารกอย่างใกล้ชิด
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะอันตรายต่อทารกในระยะคลอด
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อทารก
ทารกตายในครรภ์
ภาวะคลอดก่อนกําหนด
การแท้ง
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกขาดออกซิเจน
Twin-twin transfusion syndrome
ผลต่อมารดา
ระยะคลอด
กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
รกลอกตัวก่อนกําหนด
ระยะหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด
การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอาจเกิดความยาดลําบาก
ระยะตั้งครรภ์
ไม่สุขสบายจากอาการปวดหลัง
เสี่ยงต่อการแท้งสูง
เกิดภาวะความดันโลหิตสูง
เกิดถุงน้ําคร่ำแตกก่อนกําหนด
การตกเลือดก่อนคลอด
ตั้งครรภ์แฝดน้ํา
มีภาวะโลหิตจาง
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
มีอาการคลื่นไส้อาเจียนมาก
หลักการพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับอาหารอย่างเพียงพอ 2. เฝ้าระวังการเกิดภาวะโลหิตจางอาจให้โฟลิคเสริม 3. เฝ้าระวังการความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์
ควรงดมีเพศสัมพันธ์ 5. ติดตามการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ 6. ป้องกันการคลอดก่อนกําหนด
ระยะคลอด
1.การพิจารณาวิธีการคลอด
ในรายที่ได้รับการประเมินจากสูติแพทย์ให้คลอดทางช่องคลอด
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ป้องกันการติดเชื้อโดยดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนําการดูแลบุตร การเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
แนะนําวิธีการคุมกําเนิด
ชนิด
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้
ไข่ 1 ใบ และตัวอสุจิ 1 ตัว แล้วมีการแบ่งตัวในระยะเวลาต่าง ๆ
แฝดที่เกิดจากไข่คนละใบ
ไข่ 2 ใบผสมกับอสุจิ 2 ตัว
2.ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การจําแนกประเภทของ IUGR
ทารกโตช้าในครรภ์แบบได้สัดส่วน
1.2 สัมพันธ์กับความผิดปกติของโครโมโซม
1.3 การได้รับยาหรือสารเสพติด
1.1 สตรีตั้งครรภ์มีภาวะทุพโภชนาการ
1.4 ทารกพิการแต่กําเนิดโดยเฉพาะความพิการเกี่ยวกับหัวใจและหลอดเลือด
ทารกโตช้าในครรภ์แบบไม่ได้สัดส่วน
2.1 สตรีตั้งครรภ์มีประวัติเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด
2.2 สตีตั้งครรภ์เป็นโรคเกี่ยวกับเม็ดเลือดแดงในการจับออกซิเจน
2.3 สตรีตั้งครรภ์ที่มีประวัติโรคไต
2.4 ภาวะครรภ์แฝด
2.5 ความผิดปกติของรกและสายสะดือ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง
การซักประวัติ
สาเหตุ
ด้านมารดา
ภาวะขาดสารอาหาร น้ําหนักของมารดาไม่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์
ภาวะโลหิตจางรุนแรง เช่น โรคธาลัสซีเมีย
มารดามีรูปร่างเล็ก
มารดามีภาวะติดเชื้อ
โรคของมารดา เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพของมารดา
การตั้งครรภ์แฝด มักทําให้มวลของรกต่อทารกแต่ละคนลดลง
ด้านทารก
ความผิดปกติของโครโมโซม
ความพิการแต่กําเนิด ความผิดปกติของโครงสร้าง และอวัยวะของร่างกาย
การติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์
การรักษา
ค้นหาและลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิดอันตราย
ตรวจเฝ้าระวังสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
กําหนดเวลาการคลอดที่เหมาะสม
ทารกที่มีขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์
ทารกที่มีขนาดเล็กตามธรรมชาติ
2 ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การพยาบาล
ในระยะหลังคลอด
ให้การดูแลทารกเพื่อเฝ้าระวัง และป้องกันการเกิดภาวะ hypoglycemia, hypothermia, polycythemia เป็นต้น
ระยะคลอด
2.2 ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
2.3 ติดตามประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
2.4 ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและเสียงหัวใจทารกทุก 1⁄2 - 1 ชั่วโมง
2.5 หลีกเลี่ยงการให้ยาแก้ปวด
2.6 กุมารแพทย์ และเตรียมอุปกรณ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิดไว้ให้พร้อม
ระยะตั้งครรภ์
1.1 แนะนํามารดาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร
1.2 แนะนําให้มารดาพักผ่อนมาก ๆ
1.3 ติดตามสุขภาพของทารกในครรภ์