Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ ของรกน้ำคร่ำ และความผิดปกติของทารก…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ
ของรกน้ำคร่ำ และความผิดปกติของทารกในครรภ์
1 ภาวะน้ำคร่ำผิดปกติ
(Polydramnios/ Oligohydramnios)
1.1 ภาวะน้ำคร่ำมากผิดปกติ หรือการตั้งครรภ์แฝดน้ำ (Hydramnios/ polyhydramnios)
ความหมาย
มีน้ำคร่ำมากผิดปกติ มากกว่ากว่า 2,000 มล
เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ 95 หรือ 97.5 ของแต่ละอายุครรภ์
AFI ได้24 - 25 ซม. ขึ้นไป
อุบัติการณ์
การเกิดครรภ์แฝดน้ำ
พยาธิสรีรวิทยา
ความผิดปกติของปริมาณน้ำคร่ำจะสัมพันธ์กับ
ความสมดุลของปริมาณของเหลวที่เข้าและออกจากถุงน้ำคร่ำมากหรือน้อยขึ้นกับความรุนแรงที่เกิดขึ้น
สาเหตุ
ด้านมารดา
มารดาเป็นโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์แฝด
ด้านทารก
GI tract obstruct
anencephalous
Twin-twin transfusion syndrome (TTTS)
ไม่ทราบสาเหตุ
ความรุนแรงของภาวะครรภ์แฝดน้ำได้เล็กน้อยถึงปานกลาง
การจำแนกชนิด
ภาวะน้ำคร่ำมากอย่างเฉียบพลัน (Acute hydramnios)
อายุครรภ์ 20-24 สัปดาห์
ภาวะน้ำคร่ำมากเรื้อรัง (chronic hydramnios)
จะพบเมื่ออายุครรภ์ 30 สัปดาห์ขึ้นไป
ผลต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
ไม่สุขสบายจากการกดทับของมดลูกที่มีขนาดใหญ
อาจเกิดการคลอดก่อนกำหนด
ช็อคจากความดันในช่องท้องลดลง
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อหลังคลอด
ผลต่อทารก
ภาวะพิการ และการคลอดก่อนกำหนด
fetal distress
สายสะดือย้อย
ทารกอยู่ท่าผิดปกติและไม่คงที
อาการและอาการแสดง
บวมบริเวณเท้า ขา และปากช่องคลอด
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
. แน่นอึดอัด หายใจลำบาก เจ็บชายโครง
การวินิจฉัย
การซักประวัติอาการ และอาการแสดงการเกิดภาวะครรภ์แฝดน้ำ
การตรวจร่างกาย
หน้าท้องขยายใหญ่
คลำหาส่วนต่างๆของทารกได้ลำบาก
FHS ไม่ได้ยินหรือได้ยินไม่ชัดเจน
น้ำหนักตัวมารดาเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
AFIได้ค่ามากกว่า 24 เซนติเมตรขึ้นไป
การดูแลรักษา
การเจาะดูดน้ำคร่ำออก (amnioreduction)
การรักษาด้วยยา prostaglandin synthetase inhibitors
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
ให้ยาขับปัสสาวะ
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ประเมินการเกิดภาวะตั้งครรภ์แฝดน้ำ
ดูแลเพื่อบรรเทาอาการอึดอัดแน่นท้อง จากการขยายตัวของมดลูก
ระยะคลอด
ให้นอนพักบนเตียง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ฟัง FHS
ให้ได้รับสารน้ำและอาหาร
ขณะแพทย์เจาะถุงน้ำ ต้องระมัดระวังให้น้ำคร่ำไหลออกมาอย่างช้าๆ
ระยะหลังคลอด
ให้การพยาบาลเหมือนกับสตรีตั้งครรภ์แฝด
2 ภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
ความหมาย
หมายถึงการตั้งครรภ์ที่มีน้ำคร่ำน้อยกว่า 300 มิลลิลิตร
สาเหตุ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์มีภาวะผิดปกติ
ความผิดปกติขอโครโมโซม
รกเสื่อมสภาพ
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
IUGR
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
มีโอกาสผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
ผลต่อทารก
มีโอกาสคลอดก่อนกำหนด
ภาวะปอดแฟบ
Amniotic band syndrome
fetal distress
IUGR
การวินิจฉัย
การวัดโพรงน้ำคร่ำที่ลึกที่สุดในแนวดิ่ง (maximum ventrical pocket, MVP)
amniotic fluid index (AFI) มีค่าน้อยกว่า 5 cm
อายุครรภ์น้อยกว่า 10 สัปดาห์
CRL ต่างกันน้อยกว่า 5 หรือ mean gestational sac ต่อ CRL ผิดไปจากค่าสัดส่วนตามเกณฑ์ในแต่ละอายุครรภ์ ถือว่ามีภาวะน้ำคร่ำน้อย
การรักษา
การเติมน้ำคร่ำ (amnioinfusion) ด้วย normal saline/ ringers lactate 5%glucose
การดื่มน้ำมากๆ
การประเมินภาวะความผิดปกติแต่กำเนิด
การพยาบาล
อธิบายถึงสาเหตุการเกิดภาวะ
ดูแลให้ได้รับการใส่สารน้ำเข้าไปในถุงน้ำคร้ำ
รับฟังปัญหา แสดงความเห็นอกเห็นใจ และกระตุ้นให้ระบายความรู้สึก
2 ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า (Intra Uterine Growth Restriction: IUGR)
2.1 ทารกที่มีขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์SGA
ทารกที่มีขนาดเล็กตามธรรมชาติ (constitutionally small)
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Intra Uterine Growth Restriction: IUGR/ Fetal
growth restriction: FGR)
2.2 สาเหต
ด้านมารดา
มารดามีรูปร่างเล็ก
ภาวะขาดสารอาหาร น้ำหนักของมารดาไม่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์
ภาวะโลหิตจางรุนแรง เช่น โรคธาลัสซีเมีย
มารดามีภาวะติดเชื้อ
โรคของมารดา เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพ
การตั้งครรภ์แฝด
ด้านทารก
ความพิการแต่กำเนิด
การติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์
ความผิดปกติของโครโมโซม
2.3 การจำแนกประเภทของ IUGR
ทารกโตช้าในครรภ์แบบได้สัดส่วน (Symmetrical IUGR)
ทารกโตช้าในครรภ์แบบไม่ได้สัดส่วน (Asymmetrical IUGR)
2.4 การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
2.1 การตรวจครรภ์
2.2 การชั่งน้ำหนักของสตรีตั้งครรภ์
การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง (ultrasound)
2.5 การรักษา
ค้นหาและลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิดอันตราย และภาวะแทรกซ้อนกับทารกในครรภ์
ตรวจเฝ้าระวังสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด โดยการตรวจ U/S ทุก 2-3 สัปดาห์
กำหนดเวลาการคลอดที่เหมาะสม
2.6 การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
1.1 แนะนำมารดาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร หลีกเลี่ยงการใช้ยาหรือสารเสพติด
1.2 แนะนำให้มารดาพักผ่อนมาก ๆ
1.3 ติดตามสุขภาพของทารกในครรภ์
ระยะคลอด
2.1 ควรติดตาม ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
2.2 ติดตามประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
2.3 ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและเสียงหัวใจทารกทุก ½ - 1 ชั่วโมง
2.4 หลีกเลี่ยงการให้ยาแก้ปวด
2.5 กุมารแพทย์ และเตรียมอุปกรณ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพทารก
ในระยะหลังคลอด
ดูแลทารกเพื่อเฝ้าระวัง และป้องกันการเกิดภาวะ
hypoglycemia, hypothermia, polycythemia
3 การตั้งครรภ์ที่ทารกมีจำนวนมากกว่า 1 คน (Multiple/Twins pregnancy)
3.1 ชนิดและสาเหตุการตั้งครรภ์แฝด
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้ (monozygotic twins / identical twins)
เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่ 1 ใบ และตัวอสุจิ 1 ตัว
แฝดที่เกิดจากไข่คนละใบ หรือแฝดเทียม (dizygotic twins/ fratemal)
เกิดจากไข่ 2 ใบผสมกับอสุจิ 2 ตัว amnion 2 อัน และ chorion 2 อัน มีรก 2 อัน
3.2 ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
ตั้งครรภ์แฝดน้ำ
เกิดถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
เสี่ยงต่อการแท้งสูงหรือคลอดก่อนกำหนด
ไม่สุขสบายจากอาการปวดหลัง หายใจลำบาก เส้นเลือดขอด
เกิดภาวะความดันโลหิตสูง
การตกเลือดก่อนคลอด
มีภาวะโลหิตจาง
มีอาการคลื่นไส้อาเจียนมาก
ระยะคลอด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
ระยะหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด
การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอาจเกิดความยากลำบาก
ผลต่อทารก
การแท้ง
ภาวะคลอดก่อนกำหนด
ทารกตายในครรภ์
IUGR
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
asphyxia
Twin-twin transfusion syndrome (TTTS)
3.3 การประเมินหรือการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตั้งครรภ์แฝดในครอบครัว
อายุมารดามากในครรภ์หลัง มารดาตัวใหญ่
การตรวจร่างกาย ตรวจหน้าท้อง ตรวจภายใน
การตรวจพิเศษ
ระดับฮอร์โมน estriol, HCG, HPL สูงกว่าปกติ
3.4 แนวทางการดูแลรักษา
ต้องวินิจฉัยให้ได้เร็วที่สุด (early diagnosis)
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ดูแลการเจริญเติบโตของทารกอย่างใกล้ชิด
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะอันตรายต่อทารกในระยะคลอด
3.5 หลักการพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับอาหารอย่างเพียงพอ
เฝ้าระวังการเกิดภาวะโลหิตจางอาจให้โฟลิคเสริม
เฝ้าระวังการความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์
ควรงดมีเพศสัมพันธ์
ติดตามการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ระยะคลอด
1.การพิจารณาวิธีการคลอด
ในรายที่ได้รับการประเมินจากสูติแพทย์ให้คลอดทางช่องคลอด ดูเเลดังนี้
2.1 ตลอดระยะเวลาการเจ็บครรภ์คลอด ให้ติดตั้งเครื่อง EFM ไว้ตลอดเวลา
2.2 ตรวจความเข้มข้นของเลือด และเตรียมเลือดไว้ให้พร้อม
2.3 ให้มารดางดน้ำ งดอาหาร และให้สารน้ำ
2.4 การให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
2.5 การช่วยเหลือการคลอดแฝดครรภ์แรก ให้ทำคลอดเหมือนการตั้งครรภ์เดี่ยวปกติ
2.6 การช่วยเหลือการคลอดของแฝดคนที่สอง ให้ตรวจดูท่าและส่วนนำของทารกก่อน
2.7 ถ้าเป็นท่าหัว ให้ผู้ช่วยคลอดกดมดลูกหรือรอจนศีรษะเข้าสู่ช่องเชิงกราน
2.8 ถ้าเป็นท่าก้น ให้ทำ external cephalic version หรือ total breech assisting
2.9 ถ้าเป็นท่าขวางให้ทำ external cephalic version
2.10 ระยะเวลาที่เหมาะสมระหว่างรอให้แฝดคนที่สองคลอด สามารถรอได้ถึง 30 นาที
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
แนะนำวิธีการคุมกำเนิด
ป้องกันการติดเชื้อ
แนะนำการดูแลบุตร
4 ทารกพิการ (Fetal anormaly)
4.1 สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม ได้แก่ สตรีตั้งครรภ์มีอายุมากกว่า 35 ปี
สิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ยา การติดเชื้อ สภาพของมารดา
4.2 ความผิดปกติของทารก
Malformation
Disruption
Deformation
Dysplasia
4.3 การป้องกัน
การทำพงศาวลี (pedigree)
การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
การให้คำปรึกษาภายหลังการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
หลีกเลี่ยงการสัมผัส teratogen
4.4 ภาวะจิตสังคมของครอบครัวที่ต้องเผชิญกับภาวะมีบุตรพิการแต่กำเนิด
ระยะตั้งครรภ์
บิดามารดาบางรายอาจรู้สึกผิด รู้สึกสองฝักสองฝ่าย ระหว่างความเสี่ยงในการตรวจและผลประโยชน์ที่จะได้รับ
ระยะคลอด
บิดามารดาจะไม่ยอมรับความจริงที่เกิดขึ้น อาจ
เกิดภาวะช็อค และเข้าสู่กระบวนการเศร้าโศกได้
ระยะหลังคลอด
เข้าสู่ระยะเศร้าโศก
4.5โรคที่เกิดได้แก่
2 ดาวน์ซินโดรม
มีโครโมโซมเกินไป 1 แท่ง คือโครโมโซมคู่ที่ 21 มี 3 แท่ง
3 ทารกศีรษะบวมน้ำหรือภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง (Hydrocephalus)
ทำให้เกิดความดันภายใน
กะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
.1 ปากแหว่งเพดานโหว่
โรคปากแหว่ง
ช่วง 4-7 สัปดาห
โรคเพดานโหว่
ช่วง 12 สัปดาห์
4 ทารกศีรษะเล็ก (Microcephaly)
สมองเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ หรือหยุดการเจริญเติบโต
5 ภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (neural tube defects: NTDs)
จำแนกออกเป็น 2 กลุ่ม
Open type NTDs คือมีการเปิดของ neural tissue
Closed type NTDs หรือ spina bifida occulta คือ NTD ที่มีผิวหนังภายนอกคลุมไว้
และไม่มี expose ของ neural tissue ออกมาภายนอก
6 เยื่อหุ้มไขสันหลังยื่น (Spina bifida)
พยาธิสภาพ
Spina Bifida เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสัน
Spina bifida
ชนิดเปิด (open) ถุงที่ยื่นออกมาคลุมด้วยเยื่อหุ้มใส
ชนิดปิด (closed) พยาธิสภาพปกคลุมด้วยผิวหนังหรือเยื่อหุ้มหนา
ชนิดของกระดูกสันหลังโหว่
spin bifida occulta
spina bifida cystica
4.6 การดูแลและการพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจสอบความพิการของทารกในครรภ์
ดูแลให้การสนับสนุนทางด้านจิตใจ
ระยะคลอด
ให้ได้รับการสิ้นสุดการตั้งครรภ์
ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์
ระยะหลังคลอด
ประเมินความต้องการสัมผัสทารก
ให้การประคับประคองทางด้านจิตใจ
5 ทารกตายในครรภ์(Fetal demise)
5.1 แบ่งชนิด
intermediate fetal death คือการตายระหว่างอายุครรภ์ 20-28 สัปดาห์
late fetal death) คือการตายตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์
early fetal death คือ การตายก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
5.2 สาเหตุ
ด้านมารดา
มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์โรคทางอายุรศาสตร์
มารดาอายุมากกว่า 35 ปี
ภาวะทางสูติกรรม
ไม่มาฝากครรภ์
มีภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด รกเกาะต่ำ
ความผิดปกติของสายสะดือ
ได้รับอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บขณะตั้งครรภ์
ยาหรือสารเสพติดอื่น ๆ
ด้านทารก
มีภาวะพิการแต่กำเนิด
IUGR
prolapsed cord
ด้านรก
รกลอกตัวก่อนกำหนด การติดเชื้อในโพรงมดลูก เส้นเลือดอุดกั้นในสายสะดือ สายสะดือผิดปกติ
5.3 การวินิจฉัย
จากการซักประวัติมารดาพบทารกไม่ดิ้นหรือดิ้นน้อยลง
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยการ ultrasound
5.4 ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
fetal death syndrome
disseminated intravascular coagulation: DIC
มีโอกาสติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรียได้ง่าย
เกิดความรู้สึกสูญเสีย ตกใจ ซึมเศร้า โทษตัวเอง
5.5 การรักษา
ไตรมาสแรก
ทำการ dilatation and
curettage หรือ suction curettage
ไตรมาสที่สอง
เหน็บยา prostaglandin
ไตรมาสที่สาม
ให้ oxytocin ปริมาณความเข้มข้นสูง ทางหลอดเลือดดำ
5.6 การพยาบาล
ให้การประคับประคองทางด้านจิตใจ
2.แนะนำให้สามีและครอบครัวให้กำลังใจ ปลอบใจ
ประเมินความต้องการสัมผัสกับทารกแรกคลอดที่เสียชีวิต
ดูแลให้ได้รับการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ตามแผนการรักษาของแพทย์
ติดตามผลการตรวจเลือด
ให้ได้รับยายับยั้งการหลั่งน้ำนม