Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory) -…
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory)
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการเรียนการสอน
เนื่องจากการรู้จัก
การนำเสนอสิ่งที่นักเรียนรู้จักอยู่แล้ว จะทำให้นักเรียนหันมาสนใจและใส่ใจ เป็นการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่
เนื่องจากความใส่ใจ
จัดสิ่งเร้าให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน เพื่อเก็บในความทรงจำระยะสั้น
ข้อมูลที่ผ่านการรับรู้แล้วต้องหาวิธีให้นักเรียนจำสิ่งนั้นได้นานกว่าความจำระยะสั้น
การท่องจำหลาย ๆ ครั้ง
การจัดหมวดหมู่
วิธีทำให้จดจำเนื้อหาสาระได้นาน ๆ
เข้ารหัส
ท่องจำซ้ำๆ
ทบทวน
ขยายความคิด
การเรียกใช้งานความจำระยะสั้นและความจำระยะยาว
ใช้ effector (ตัวกระตุ้นทางวาจาหรือการกระทำ)
ใช้การรู้คิด ทำให้บุคคลสั่งงานสมองกระทำสิ่งต่าง ๆ จนนำไปสู่การประสบความสำเร็จในการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์
การทำงานของสมอง
แนวคิด
การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
การรับข้อมูล
การเข้ารหัส
การส่งข้อมูลออก
กระบวนการทางสมอง
รับสิ่งเร้า (โดยใช้ประสามทสัมผัสทั้ง 5) >> ความทรงจำระยะสั้น (ความรู้จัก+ความใส่ใจ) >> เข้ารหัส >> ความจำระยะยาว << เรียกกลับมามาใช้โดยการถอดรหัสข้อมูล
สิ่งที่ควบคุมกระบวนการทางสมอง
องค์ประกอบ
แรงจูงใจ
ความตั้งใจ
ความมุ่งหวัง
เทคนิค
กลวิธี
กระบวนการรู้คิด
ความใส่ใจ
การรับรู้
กลวิธีต่าง ๆ
ความรู้
ความรู้เกี่ยวกับบุคคล - ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ความรู้เกี่ยวกับงาน – ขอบข่าย ปัจจัย ลักษณะของงาน
ความรู้เกี่ยวกับกลวิธี - กลวิธีการรู้คิดเฉพาะด้านและโดยรวม