Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการให้คำปรึกษาและการประสานกับผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง - Coggle…
เทคนิคการให้คำปรึกษาและการประสานกับผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง
การประสานงานกับผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง
การประสานงาน คือ การที่บุคคลหรือหน่วยงานในองค์กร ทำงานร่วมกับบุคคลและหน่วยงานอื่นเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน มีลักษณะเป็นกระบวนการที่ต้องกระทำต่อเนื่องสอดคล้องกันไปเพื่อให้งานสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ของการประสานงาน
๑. เพื่อแจ้งให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ
๒. เพื่อรักษาไว้ซึ่งความสัมพันธ์อันดี
๓. เพื่อขอคำยินยอมหรือความเห็นชอบ
๔. เพื่อขอความช่วยเหลือ
๕. เพื่อขจัดข้อขัดแย้งที่อาจมีขึ้น
๖. เพื่อให้งานส าเร็จตามเป้าหมาย
๗. เพื่อให้งานมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดไว้
ประโยชน์ของการประสานงาน
๑. ช่วยให้การทำงานบรรลุเป้าหมายได้อย่างราบรื่นรวดเร็ว
๒. ช่วยประหยัดเวลาและทรัพยากรในการปฏิบัติงาน
๓. ช่วยให้ทุกผ่ายเข้าใจถึงนโยบายและวัตถุประสงค์ขององค์การ
๔. ช่วยสร้างความสามัคคีและความเข้าใจในหมู่คณะ
๕. เสริมสร้างขวัญของผู้ปฏิบัติงาน
๖. ลดอันตรายจากการทำงานให้น้อยลง
๗. ช่วยลดข้อขัดแย้งในการท างาน
๘. ช่วยให้ปฏิบัติงานเป็นหมู่คณะและเพิ่มผลสำเร็จของงาน
๙. ช่วยเกิดความคิดใหม่ๆและปรับปรุงอยู่เสมอ
๑๐. ป้องกันการทำงานซ้ำซ้อน
๑๑. การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเภทของการประสานงาน
การประสานงานอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
การประสานงานภายในองค์การและภายนอกองค์การ
การประสานงานในแนวดิ่ง (Top- Down Bottom-up) และแนว
เทคนิคการประสานงาน
กำหนดเป้าหมายในการประสานงานให้ชัดเจน
เตรียมข้อมูลที่จะใช้ในการประสานงานให้ครบถ้วนครอบคลุม
ศึกษาข้อมูลของบุคคลหรือหน่วยงานจะประสานงานด้วย
วางแผนการประสานงานที่สอดคล้องกับเป้าหมายและระยะเวลา
เตรียมตนเองให้พร้อมและเหมาะสมตามกาลเทศะเช่น การแต่งกาย การใช้ภาษาพูดที่เหมาะสมกับบุคคลที่ประสานงานด้วย
เคารพและให้เกียรติผู้ที่ประสานงานด้วยรวมทั้งเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
ประเมินผลการสื่อสารและประสานงานทุกครั้ง
ปรับปรุงและพัฒนาแนวทางการประสานงานจากผลการประเมินทุกครั้ง
แนวคิดในการให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องกับเด็กพิการ
เทคนิควิธีการให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง
1.ศึกษาประวัติครอบครัว
2.รับฟังเรื่องราวอย่างตั้งใจ
3.ทวนคำพูด การพูดต่อเติมประโยคให้สมบูรณ์
4.สรุปความ โดยสรุปคำพูดของผู้รับการปรึกษาให้สั้นลง
5.ยกตัวอย่างประสบการณ์ของตนเองหรือผู้อื่น
6.สนับสนุน โดยการพูดให้กำลังใจแก่ผู้รับคำปรึกษา
ผู้ให้คำปรึกษาควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาครอบครัวให้มีความรู้ ทักษะปฏิบัติการและประสบการณ์ที่จะช่วยให้เด็กพิการก้าวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ที่ประสบความสำเร็จโดยคำนึงถึงการทำงานร่วมกันของผู้ให้คำปรึกษาและผู้เกี่ยวข้อง