Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 โครงงานวิทยาศาสตร์ 👩🏻🔬, น.ส.หรรษลักษณ์ โกนฑา รหัส6422040015 -…
บทที่2
โครงงานวิทยาศาสตร์ 👩🏻🔬
3.จุดมุ่งหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์💬
🔹3.1.เพื่อฝึกให้ผู้เรียนนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน
🔹3.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์
🔹3.3 เพื่อส่งเสริมผู้เรียนที่มีความสนใจและมีความสามารถทางวิทยาศาสตร์
🔹3.4 เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ความรับผิดชอบและความสามารถในการทำงาน
🔹3.5 เพื่อปรับเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์
💭
💻เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยีโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อตอบปัญหาที่สงสัยซึ่ ซึ่งผู้เรียนเป็นผู้ริเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองตามความสนใจและระดับความรู้ความสามารถมีการวางแผนในการศึกษาค้นคว้าเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการปฏิบัติทดลองหรือประดิษฐ์คิดค้นสรุปผลได้ด้วยตนเองโดยมีครูเป็นผู้ให้คำปรึกษา
2.หลักการสำคัญของโครงงงานวิทยาศาสตร์🧬
🔻2.1.ผู้เรียนเป็นผู้ริเริ่มเเละเลือกเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
🔻2.2.โครงงานวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมที่ใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อตอบปัญหาที่สงสัย
🔻2.3.วางเเผนการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล ดำเนินปฏิติบัติการ ทดลองหรือประดิษฐ์ คิดค้น รวมทั้งการเเปลผล สรุปผลและเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
🔻2.4.โครงงานวิทยาศาตร์เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี
4.ประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์📝
🔖ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ แบ่งออกเป็น4ประเภท
🔍 4.1 โครงงานประเภทสำรวจ
(Survey science project)
ขั้นที่1.การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
ขั้นที่2. การวางแผนในการทำโครงงาน
ขั้นที่3. การลงมือทำโครงงาน
ขั้นที่4. การเขียนรายงานโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานประเภทสำรวจ
🔻การศึกษาการเจริญเติบโตของผีเสื้อ
🔻การสกัดกาเฟอีนจากกาแฟชนิดต่างๆ
🔻การศึกษาการกินอาหารของนกแก้ว
🪐4.2 โครงงานประเภททดลอง
(Experimental science project)
4.2.1 ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ
📍คือสิ่งที่เราต้องการศึกษา
4.2.2 ตัวแปรตาม
📍คือสิ่งที่เราต้องการจะวัดหรือผลการทดลอง
4.2.3 ตัวเเปรควบคุม
📍คือสิ่งที่ไม่ต้องการจะศึกษาแต่สิ่งนั้นจะส่งผลทำให้ตัวแปรตามคาดเคลื่อน
ตัวอย่างโครงงานประเภททดลอง
🔻ผลการใช้ฝักคูณกำจัดหอยทากในแปลงผักสด
🔻 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แก้วมังกรกรอบแห้ง
🔻การศึกษา การศึกษาการพัฒนาเส้นหมี่กึ่งสำเร็จรูปจากสาหร่ายผมนาง
✂️4.3โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์
(Invention Science Project )
เป็นการพัฒนาหรือปฏิบัติเครื่องมือเครื่องใช้หรืออุปกรณ์ต่างๆให้ใช้งานได้ตามความประสงค์โดยอาศัยความรู้หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์
ตัวอย่างโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์
🔻 เครื่องปอกกระเทียม
🔻เครื่องขุดล้อมต้นไม้
🔻หุ่นยนต์ตัดโฟม
📖4.4 โครงงานประเภททฤษฎี
(Theoretical science project)
: เป็นโครงงานที่เสนอแนวความคิดใหม่ในการอธิบายเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีเหตุผลโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์หรือสนับสนุนหรือหากเป็นการอธิบายปรากฏการณ์เก่าในแนวใหม่อาจเสนอในรูปแบบการอธิบายสูตรหรือสมการโดยมีข้อมูลหรือทฤษฎีอื่นสนับสนุน
ตัวอย่างโครงงานประเภททฤษฎี
🔻การสร้างแบบจำลองทางทฤษฎีอธิบายการเกิดของทวีปและมหาสมุทร
🔻การดำรงชีวิตอยู่ในอวกาศของมนุษย์
🔻ทฤษฎีของจำนวนและตัวเลข
5.ขั้นตอนในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์🔔
🔸
5.1การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษา
5.1.1 การอ่านงานวิชาการต่างๆ
5.1.2 การสังเกตปรากฏการณ์สิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
5.1.3 การฟังและการชมรายการทางวิทยุโทรทัศน์
5.1.4 งานอดิเรกของนักเรียนเองหรืองานที่เป็นอาชีพเสริมของครอบครัว
5.1.5 งานที่เป็นอาชีพในท้องถิ่น
5.1.6 การเข้าชมนิทรรศการหรือโครงงานวิทยาศาสตร์ที่ผู้อื่นทำไว้แล้ว
5.1.7 กิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน
5.1.8 การสนทนากับผู้สอนเพื่อนเพื่อนหรือบุคคลอื่น
🔸 5.2การวางแผนในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
5.2.1 กำหนดปัญหาหรือที่มาและความสำคัญของโครงงาน
5.2.2 การกำหนดวัตถุประสงค์และสมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า
5.2.3 การกำหนดขอบเขตของการศึกษา
5.2.4 การอ่านและศึกษาค้นคว้าจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง
5.2.5 การวางแผนวิธีดำเนินการได้แก่แนวทางในการศึกษาค้นคว้าวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้
** การเขียนเค้าโครงหรือแผนการทำโครงงานจะประกอบไปด้วยหัวข้อต่างๆดังนี้
1) ชื่อโครงงาน
2)ชื่อผู้ทำโครงงาน
3)ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน
4)ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
5)จุดมุ่งหมายของการศึกษา
6)ขอบเขตของโครงงานที่จะทำการศึกษา
7)สมมุติฐานของการศึกษา
(ถ้าเป็นโครงงานที่เกี่ยวกับการทดลอง)
8)วิธีดำเนินงาน
9)ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับจากการทำโครงงาน
10) เอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
🔹การเขียนเค้าโครงย่อของโครงงานวิทยาศาสตร์
1)ชื่อเรื่อง
2)จุดมุ่งหมายของโครงงาน
3)อุปกรณ์เเละวิธีการทดลอง
🔸5.3การลงมือทำโครงงานวิทยาศาสตร์
:เป็นการปฎิบัติ การปฏิบัติตามแผนดำเนินงานที่วางไว้ล่วงหน้าแล้วควรปฏิบัติตามขั้นตอนโครงร่างหรือเค้าคงที่ผ่านการเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาแล้วซึ่งประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลการสร้างหรือประดิษฐ์การปฎิบัติงานหรือการทดลองการค้นคว้าจากเอกสารต่างๆโดยคำนึงถึงประเภทของโครงงานเป็นเกณฑ์
🔸
5.4เขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
ประกอบการเขียนได้งานโครงงานแบ่งกว้างกว้างเป็น3ส่วนดังนี้
5.4.1 ส่วนปกและส่วนต้นประกอบด้วย
-ปกนอก
-ปกใน
-กิตติกรรมประกาศ
-บทคัดย่อ
-สารบัญ
-สารบัญตาราง
-สารบัญรูปภาพ
5.4.2 ส่วนเนื้อเรื่องประกอบด้วย5บทดังนี้
1)บทที่1 บทนำ
ประกอบด้วยที่มาและความสำคัญของโครงงาน
-จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
-สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า
-ขอบเขตของการศึกษาคุณคว้า
-ตัวแปรต่างๆที่เกี่ยวข้องในโครงงาน
2)บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
3)บทที่3อุปกรณ์และวิธีทำการทดลองประกอบด้วย
-วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
-วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้าอธิบายการดำเนินงานโดยละเอียด
4)บทที่4 ผลการศึกษาค้นคว้านำเสนอข้อมูลหรือผลการทดลองต่างๆที่สังเกตรวบรวมได้รวมทั้งเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่วิเคราะห์ได้
5) บทที่5 สรุปและอภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า
5.4.3 ส่วนท้าย ประกอบด้วย
1) บรรณานุกรม หรือเอกสารอ้างอิง
2) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน
🔸5.5การเเสดงผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์
เป็นขั้นตอนสุดท้ายและเป็นการเสนอผลงานที่ได้ศึกษาค้นคว้าสำเร็จลงด้วยความเพียรพยายามของผู้ทำโครงงานให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานวิทยาศาสตร์
6.แนวทางการประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์
📈
6.1 การเขียนรายงาน
6.2 การนำเสนอผลงาน
6.3 การจัดบอร์ดแสดงโครงงาน
6.4 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
6.5 ประโยชน์ของโครงงาน
น.ส.หรรษลักษณ์ โกนฑา รหัส6422040015