Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ ของรกน้ำคร่ำ และความผิดปกติของทารก…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ
ของรกน้ำคร่ำ และความผิดปกติของทารกในครรภ์
ภาวะน้ำคร่ำผิดปกติ
(Polydramnios/ Oligohydramnios)
หมายถึง การตั้งครรภ์ที่มีน้ำคร่ำมากผิดปกติ เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ 95 โดยมีปริมาณ
น้ำคร่ำมากกว่ากว่า 2,000 มล
พยาธิสรีรวิทยา
ความสมดุลของปริมาณน้ำคร่ำในครรภ์มารดา สัมพันธ์กับปริมาณของเหลวที่เข้าและออกจากถุงน้ำคร่ำ ซึ่งจะแตกต่างกันตามอายุครรภ์ ช่วงหลังของการตั้งครรภ์มักจะสัมพันธ์กับปริมาณปัสสาวะของทารก การสร้างของเหลวจากปอด การกลืน และการดูดซึมผ่านทางเนื้อเยื่อของทารก
สาเหตุ
ด้านมารดา
มารดาเป็นโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์แฝด
ด้านทารก
ความผิดปกติของระบบประสาท การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร ความพิการของทารกในครรภ์
ไม่ทราบสาเหตุ
เป็นกลุ่มที่พบได้บ่อยที่สุดถึงร้อยละ 60 ซึ่งวินิจฉัยไม่พบความผิดปกติของมารดาและทารกในครรภ์
การจำแนกชนิด
ภาวะน้ำคร่ำมากอย่างเฉียบพลัน (Acute hydramnios)
พบได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 20-24 สัปดาห์ จะมีมีปริมาณน้ำคร่ำเพิ่มขึ้นมากอย่างรวดเร็วภายใน 2-3 วัน
สตรีตั้งครรภ์มีอาการไม่สุขสบาย ปวดหลังและหน้าขา แน่นอึดอัดในช่องท้อง หายใจลำบากหรือมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
ต่อมาจะพบว่ามีอาการบวมที่ผนังหน้าท้อง อวัยวะเพศและหน้าขา ไม่สามารถคลำหาส่วนต่างๆของทารกได้อย่างชัดเจน
ภาวะน้ำคร่ำมากเรื้อรัง
(chronic hydramnios)
พบว่าปริมาณน้ำคร่ำจะค่อยๆเพิ่มขึ้นอาการและอาการแสดงจะคล้ายๆกันกับภาวะน้ำคร่ำมากอย่างเฉียบพลัน
มีอาการหายใจลำบาก อึดอัด
ผลต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์ เกิดความไม่สุขสบายจากการกดทับของมดลูกที่มีขนาใหญ่
อาจเกิดการคลอดก่อนกำหนด
ช็อคจากความดันในช่องท้องลดลงอย่างรวดเร็ว
ตกเลือดหลังคลอด ติดเชื้อหลังคลอด
ผลต่อทารก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพิการ และการคลอดก่อนกำหนด
เกิดภาวะ fetal distress
ทารกอยู่ท่าผิดปกติและไม่คงที่ เนื่องจากมีปริมาณน้ำคร่ำมาก
อาการและอาการแสดง
แน่นอึดอัด หายใจลำบาก เจ็บชายโครง
มีอาการบวมบริเวณขา และปากช่องคลอด
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเท้า
การวินิจฉัย
การซักประวัติอาการ และอาการแสดงการเกิดภาวะครรภ์แฝดน้ำ
การตรวจร่างกาย
หน้าท้องขยายใหญ่ มดลูกมีรูปร่างกลมมากกว่ารูปร่างไข่
วัดเส้นรอบท้องได้มากกว่า 100 เซนติเมตร ผนังหน้าท้องตึง บาง ใส
คลำหาส่วนต่างๆของทารกได้ลำบาก เมื่อเคาะบริเวณท้องพบมีคลื่นน้ำกระทบมือ (fluid thrill)
ฟังเสียง FHS ไม่ได้ยินหรือได้ยินไม่ชัดเจน
น้ำหนักตัวมารดาเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วมากกว่า 1 กิโลกรม/สัปดาห์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การหาค่า amniotic fluid index (AFI) เกณฑ์ในการวินิจฉัยครรภ์แฝดน้ำคือ การวัด AFIได้ค่ามากกว่า 24 เซนติเมตรขึ้นไป
ชนิดรุนแรงน้อย (mild) คือ วัด AFI ได้ > 24 เซ็นติเมตร
ชนิดรุนแรงปานกลาง (moderate) คือ วัด AFI ได้> 32 เซ็นติเมตร
ชนิดรุนแรงมาก (severe) คือ วัด AFI ได้ > 44 เซ็นติเมตรขึ้นไป
การดูแลรักษา
การเจาะดูดน้ำคร่ำออก(amnioreduction)
รายที่มารดามีอาการแน่น อึดอัดหน้าท้องอย่างรุนแรง
การรักษาด้วยยา prostaglandin synthetase inhibitors
ใช้ในรายที่อายุครรภ์น้อยกว่า 32 สัปดาห์
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
ให้ยาขับปัสสาวะหากพบมีภาวะบวม
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก (tocolytic drug) ในรายที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การเจาะถุงน้ำในระยะคลอด ให้น้ำคร่ำไหลช้าที่สุด
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องในรายที่มีส่วนนำและท่าของทารกที่ผิดปกต
ในระยะหลังคลอดหากมารดามีอาการตกเลือด ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ประเมินการเกิดภาวะตั้งครรภ์แฝดน้ำจากการซักประวัติอาการและอาการแสดง
ดูแลเพื่อบรรเทาอาการอึดอัดแน่นท้อง จากการขยายตัวของมดลูก
3.แนะนำให้มารดารับประทานอาหารที่ย่อยง่าย ครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
4 แนะนำให้มารดาสวมใส่เสื้อผ้าที่หลวมสบาย
5 ดูแลให้ได้รับการเจาะดูดน้ำคร่ำออก ตามแผนการรักษาของแพทย์
1 more item...
ระยะคลอด
ให้นอนพักบนเตียง เพื่อป้องกันภาวะน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ฟัง FHS ในระยะ latent ทุก 30 นาที และระยะ active ทุก 15 นาที
ให้ได้รับสารน้ำและอาหารตามแผนการรักษา
ขณะแพทย์เจาะถุงน้ำ ต้องระมัดระวังให้น้ำคร่ำไหลออกมาอย่างช้าๆ
ระยะหลังคลอด
ให้การพยาบาลเหมือนกับสตรีตั้งครรภ์แฝด โดยเฉพาะดูแลการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
หมายถึง การตั้งครรภ์ที่มีน้ำคร่ำน้อยกว่า 300 มิลลิลิตร
สาเหตุ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด ทำให้เกิดภาวะนี้ได้ 26-35 %
ทารกในครรภ์มีภาวะผิดปกติ เฉพาะระบบของไตและระบบทางเดินปัสสาวะ
ความผิดปกติของโครโมโซม
รกเสื่อมสภาพ การตั้งครรภ์เกินกำหนด ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
มีโอกาสผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง เนื่องจากทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ fetal distress
ผลต่อทารก
มีโอกาสคลอดก่อนกำหนด
ภาวะปอดแฟบ (pulmonary hypoplasia) เนื่องจากมีการกดต่อผนังทรวงอก
Amniotic band syndrome คือ การเกิดเยื่อพังผืดรัดและดึงรั้งมือและแขนหลายบริเวณ
2 more items...
การวินิจฉัย
การวัดโพรงน้ำคร่ำที่ลึกที่สุดในแนวดิ่ง (maximum ventrical pocket, MVP)
พบว่า MVP มีค่าน้อยกว่า 1 หรือ 2 เซนติเมตร ให้ถือว่า มีภาวะน้ำคร่ำน้อย
การวัดดัชนีน้ำคร่ำ
amniotic fluid index (AFI)
มีค่าน้อยกว่า 5 เซนติเมตร
ขนาดของถุงน้ำคร่ำ (mean gestational sac) กับขนาดของทารก
ในกรณีที่อายุครรภ์น้อยกว่า 10 สัปดาห์ โดยวัดจาก crown-rump length (CRL) ต่างกันน้อยกว่า 5
การรักษา
การเติมน้ำคร่ำ (amnioinfusion) ด้วย normal saline/ ringers lactate 5% glucose เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
การดื่มน้ำมากๆ ทำให้ปริมาณน้ำคร่ำเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
การประเมินภาวะความผิดปกติแต่กำเนิด
การพยาบาล
อธิบายถึงสาเหตุการเกิดภาวะดังกล่าว และแนวทางการรักษา
ดูแลให้ได้รับการใส่สารน้ำเข้าไปในถุงน้ำคร้ำ (amnioinfusion) ตามแผนการรักษาของแพทย์
รับฟังปัญหา แสดงความเห็นอกเห็นใจ และกระตุ้นให้ระบายความรู้สึก
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
(Intra Uterine GrowthRestriction: IUGR)
ทารกที่มีขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์
(small for gestational age: SGA)
1.ทารกที่มีขนาดเล็กตามธรรมชาติ (constitutionally small)
ทารกที่มีขนาดเล็ก
เนื่องมาจากมารดาตัวเล็ก
2.ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
(Intra Uterine Growth Restriction: IUGR/ Fetal growth restriction: FGR)
ทารกที่มีการเจริญเติบโตช้าผิดปกติ เกิดจากภาวะทุพโภชนาการ
สาเหตุ
ด้านมารดา
มารดามีรูปร่างเล็ก
ภาวะขาดสารอาหาร น้ำหนักของมารดาไม่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์
ภาวะโลหิตจางรุนแรง เช่น โรคธาลัสซีเมีย
มารดามีภาวะติดเชื้อ
โรคของมารดา เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพของมารดา
1 more item...
ด้านทารก
ความพิการแต่กำเนิด ความผิดปกติของโครงสร้าง และอวัยวะของร่างกาย
การติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์
ความผิดปกติของโครโมโซม
การจำแนกประเภทของ IUGR
ทารกโตช้าในครรภ์แบบได้สัดส่วน (Symmetrical IUGR)
มีการเจริญเติบโต
ช้าทุกระบบของร่างกาย มีค่าต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำในอายุครรภ์นั้น ๆ
ทารกโตช้าในครรภ์แบบไม่ได้สัดส่วน (Asymmetrical IUGR)
ทารกจะเจริญเติบโตช้าในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์ ซึ่งมีผลต่อขนาดของเซลล์มากกว่าจำนวนเซลล
พบว่าอัตราการเจริญเติบโตของส่วนท้อง (AC) จะช้ากว่าส่วนศีรษะ (HC)
อาจมีสาเหตุดังนี้
สตรีตั้งครรภ์มีประวัติเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด
สตีตั้งครรภ์เป็นโรคเกี่ยวกับเม็ดเลือดแดงในการจับออกซิเจน
1 more item...
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
พบว่าขนาดของมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์ 3 เซนติเมตรขึ้นไป
การชั่งน้ำหนักของสตรีตั้งครรภ์
พบว่า น้ำหนักเพิ่มขึ้นน้อยหรือไม่มีการเพิ่มขึ้นของน้ำหนัก
การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง (ultrasound)
วัดเส้นรอบท้อง (Abdominal Circumference = AC
วัดขนาดของศีรษะทารก (Biparietal diameter = BPD)
วัดเส้นรอบศีรษะ (Head circumference = HC)
วัดความยาวของกระดูกต้นขา
(femur length = FL)
ปริมาณน้ำคร่ำ
(amniotic fluid volume)
เกรดของรก (placenta grading)
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำมารดาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร
แนะนำให้มารดาพักผ่อนมาก ๆ โดยเฉพาะการนอนตะแคงซ้าย
ติดตามสุขภาพของทารกในครรภ์ ให้มารดานับลูกดิ้นทุกวัน
ระยะคลอด
ควรติดตาม ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
ติดตามประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและเสียงหัวใจทารกทุก ½ - 1 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงการให้ยาแก้ปวด
กุมารแพทย์ และเตรียมอุปกรณ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิด
ระยะหลังคลอด
ให้การดูแลทารกเพื่อเฝ้าระวัง
การตั้งครรภ์ที่ทารกมีจำนวนมากกว่า 1 คน
(Multiple/Twins pregnancy)
จัดอยู่ในกลุ่ม
การตั้งครรภ์ที่ มีความเสี่ยงสูง (high risk pregnancy) พบภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
ชนิดและสาเหตุการตั้งครรภ์แฝด
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้ (monozygotic twins / identical twins)
เป็นแฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่ 1 ใบ และตัวอสุจิ 1 ตัว ระยะเวลาต่าง ๆ กันภายใน 14 วันหลังจากการปฏิสนธิ
แฝดที่เกิดจากไข่คนละใบ หรือแฝดเทียม (dizygotic twins/ fratemal)
เป็นการตั้งครรภ์แฝดที่เกิดจากไข่ 2 ใบผสมกับอสุจิ 2 ตัว amnion 2 อัน และ chorion 2 อัน มีรก 2 อัน
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
มีอาการคลื่นไส้อาเจียนมาก เนื่องจากมีฮอร์โมน hCG มากกว่าครรภ์เดี่ยว
มีภาวะโลหิตจางเนื่องจากครรภ์แฝดมีการเพิ่มขึ้นของ blood volume มากกว่าครรภ์เดี่ยวปกติ
การตกเลือดก่อนคลอด
เกิดภาวะความดันโลหิตสูง
ไม่สุขสบายจากอาการปวดหลัง หายใจลำบาก เส้นเลือดขอด
1 more item...
ผลต่อทารก
การแท้ง ทารกตายในครรภ์ ภาวะคลอดก่อนกำหนด ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ ทารกขาดออกซิเจน (asphyxia)
Twin-twin transfusion syndrome (TTTS)
การวินิจฉัย
การซักประวัติโดยซักประวัติที่สนับสนุน
การตรวจร่างกาย ตรวจหน้าท้อง ตรวจภายใน
ขนาดของมดลูกโตมากกว่าอายุครรภ์ (size > date)
คลำพบมี ballottement ของศีรษะ
คลำได้ small part มากกว่าปกติ
ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ได้ 2 แห่งซึ่งฟังได้ชัดในตำแหน่งที่ต่างกัน
1 more item...
การตรวจพิเศษ
ตรวจด้วยอัลตราซาวด์
ระดับฮอร์โมน estriol, HCG, HPL สูงกว่าปกติ
การถ่ายภาพรังสีทางหน้าท้อง (radiographic examination)
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับอาหารอย่างเพียงพอ
เฝ้าระวังการเกิดภาวะโลหิตจาง
เฝ้าระวังการความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์
ควรงดมีเพศสัมพันธ์เพื่อลดความเสี่ยงของการคลอดก่อนกำหนด
ติดตามการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
1 more item...
ระยะคลอด
1.การพิจารณาวิธีการคลอด
การคลอดทางช่องคลอด
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ในรายที่ได้รับการประเมินจากสูติแพทย์ให้คลอดทางช่องคลอด
2.1 ตลอดระยะเวลาการเจ็บครรภ์คลอด ให้ติดตั้งเครื่อง EFM
2.2 ตรวจความเข้มข้นของเลือด และเตรียมเลือดไว้ให้พร้อม
2.3 ให้มารดางดน้ำ งดอาหาร และให้สารน้ำ
1 more item...
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ป้องกันการติดเชื้อโดยดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนำการดูแลบุตร การเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
แนะนำวิธีการคุมกำเนิด
การตั้งครรภ์แฝด 2 คน เรียกว่า twins
การตั้งครรภ์แฝด 3 คน เรียกว่า triplets
การตั้งครรภ์แฝด 4 คน เรียกว่า quadruplets
การตั้งครรภ์แฝด 5 คน เรียกว่า quintuplets
ทารกพิการ
(Fetal anormaly)
คือความผิดปกติของร่างกายทารกแรกเกิดที่พบได้ โดยมีความพิการที่สามารถสังเกตได้จากลักษณะภายนอก
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
สตรีตั้งครรภ์มีอายุมากกว่า 35 ปี
ประวัติบุคคลในครอบครัว
ให้กำเนิดทารกพิการ
สิ่งแวดล้อม
ทำให้เกิดความผิดปกติแก่ทารก ส่วนใหญ่ความพิการจะเกิดในช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์
ความผิดปกติของทารก
Malformation หมายถึง เป็นความผิดปกติทางรูปร่างของอวัยวะ เป็นผลมาจากขบวนการของการพัฒนา
Disruption เป็นผลมาจากปัจจัยภายนอกมาขัดขวางขบวนการเจริญเติบโตของอวัยวะนั้น
Deformation ผลมาจากแรงภายนอกทำให้โครงสร้างที่กำลังพัฒนาผิดรูปไป แรงเบียดนี้เป็นแรงมาจากภายนอกตัวทารกในครรภ์
Dysplasia เป็นผลมาจากความผิดปกติของการจัดระเบียบของเซลล์ที่จะเจริญไปเป็นเนื้อเยื่อ
ปากแหว่งเพดานโหว
เป็นความพิการแต่กำเนิดของเพดานซึ่ง หมายถึง ริมฝีปาก เหงือกส่วนหน้า เพดานแข็ง และเพดานอ่อน
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
สิ่งแวดล้อม
อาการและอาการแสดง
ทารกที่มีปากแหว่งเพียงอย่างเดียว
ทารกที่มีเพดานโหว่มักจะสำลักน้ำนมขึ้นจมูก และเข้าช่องหูชั้นกลาง
การได้ยินผิดปกติ
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น
การพยาบาลทารกแรกเกิด
ดูแลด้านจิตใจสำหรับบิดา มารดา
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลทารกแรกเกิดที่พบปัญหา
ดูแลการให้นมแม่
กรณีที่ทารกไม่สามารถดูดนมแม่ได้
ภายหลังการให้ทารกดูดนมหรือให้นมต้องไล่ลมเป็นระยะ ๆ ทุก 15-30 นาท
4.1 ให้ใช้ขวดนมพิเศษที่เป็นพลาสติกอ่อน
4.2 ใช้ช้อนหรือแก้ว เพื่อป้อนนมไหลเข้าคอ
4.3 ใช้ syringe ต่อกับท่อยางนิ่ม
4.4 จัดท่าทารกให้อยู่ในท่านอนหัวสูง
ดาวน์ซินโดรม
เป็นโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมที่มีภาวะปัญญาอ่อนที่พบบ่อยที่สุด จะมีศีรษะค่อนข้างเล็ก เบน ตาเฉียงขึ้น ดั้งจมูกแบน ปากเล็ก ลิ้นมักยื่นออกมา เรียกว่า “mongoloids face”
สาเหตุ
เกิดจากการมีโครโมโซมเกินไป 1 แท่ง คือโครโมโซมคู่ที่ 21 มี 3 แท่ง
อาการ
ศีรษะและตา มีศีรษะแบนกว้าง และท้ายทอยแบน
จมูกและหู มีจมูกไม่มีสัน ใบหูเล็กอยู่ต่ำกว่าปกติ
ปากและคอ มีเพดานปากโค้งนูน
ทรวงอกและหัวใจ มีกระดูกซี่โครงสั้นกว่าปกติ
1 more item...
การวินิจฉัย
การตรวจโครโมโซมโดยวิธี chorionic villus เมื่ออายุครรภ์ 9-12 สัปดาห์
การซักประวัติครอบครัว หรือ มารดาที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
การรักษา
เป็นการรักษาแบบประคับประคองตามอาการ มุ่งเน้นให้เด็กสามารถช่วยเหลือตัวเองได้
ภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง (Hydrocephalus)
น้ำไขสันหลังที่คั่งปริมาณจะทำให้เกิดความดันภายในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
2.1 จากการตรวจหน้าท้อง
ตรวจภายในพบว่าศีรษะทารกอยู่สูงรอยต่อต่าง ๆ บนศีรษะขยายกว้าง
2.2 การตรวจพิเศษ เช่น skull X – ray, Ultrasound
1.1 ประวัติการติดเชื้อโรคบางชนิด
1.2 ประวัติการได้รับยาขณะตั้งครรภ์ได้แก่ Aminophyrine
1.3 ตรวจพบปริมาณน้ำคร่ำมากผิดปกติ
การดูแลทารก
ให้การพยาบาลทารกแรกเกิดโดยทั่วไป
่ ท่านอน การหายใจ การให้ความอบอุ่น
ให้การพยาบาลตามอาการ วัดขนาดของรอบศีรษะทารกทุกวัน
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจสภาพของทารก
บันทึกอาการและการพยาบาล
ทารกศีรษะเล็ก
(Microcephaly)
เป็นความพิการของสมอง ซึ่งอาจเกิดจากสมองเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ หรือหยุดการเจริญเติบโต
เนื่องจากการเจริญเติบโตของกระดูกกะโหลกศีรษะส่วนใหญ่ขึ้นกับการเจริญเติบโตของสมอง จึงเป็นสาเหตุให้ศีรษะมีขนาดเล็ก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มารดามีประวัติเป็น Phenylketonuria เป็น Rubella, Syphilis พบว่ามีพี่น้องเคยเป็น Microcephaly ได้รับรังสีขณะอยู่ในครรภ์ ได้รับรังสีขณะอยู่ในครรภ์
มารดาไดรับเชื้อโรคไข้ซิกา
อาการและอาการแสดง
พบว่า ขนาดของศีรษะเล็กกว่าปกติหน้าผากเล็กใบหูใหญ่
ผลการตรวจทางห้องทดลอง ได้แก่ Skull X-ray, Lumbar serologic test
การพยาบาล
ให้การพยาบาลทารกแรกเกิดโดยทั่วไป
การดูแลเกี่ยวกับท่านอน การหายใจ และการให้ความอบอุ่น
ให้การพยาบาลตามอาการและอาการแสดง
สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจเกี่ยวกับสภาพของทารก
บันทึกอาการแลอาการแสดง
ภาวะหลอดประสาทไม่ปิด
(neural tube defects: NTDs)
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดของระบบประสาทสามารถเกิดได้ทุกขั้นตอนของการพัฒนาแต่ในช่วงแรกของการพัฒนา
Open type NTDs คือมีการเปิดของ neural tissue กับสิ่งแวดล้อมภายนอก
Closed type NTDs หรือ spina bifida occulta คือ NTD ที่มีผิวหนังภายนอกคลุมไว้และไม่มี expose ของ neural tissue ออกมาภายนอก
สาเหตุของการเกิด NTDs
Genetic factors
ไม่มีประวัติในครอบครัวมาก่อน การที่ NTD สามารถพบร่วมกับโรคทางพันธุกรรมทั้ง chromosomal และ single gene disorders ความผิดปกติของโครโมโซมหรือยีนที่จำเพาะต่อ NTD ได้ ้เนื่องจากในกระบวนการ neurulation มียีนที่เข้ามาเกี่ยวข้องเป็นจำนวนมากกว่า 100 ยีน
Environmental factors
Folate deficiency: เป็นปัจจัยที่ได้รับการศึกษามาเป็นเวลานานพบว่าการให้ folate supplementation ในสตรีที่กำลังจะตั้งครรภ์ แนะนำให้บริโภคอาหารที่มีfolate สูง ได้แก่ ผักใบเขียว หรือ รับประทานกรดโฟลิกขนาด 400 ไมโครกรัมต่อวันนานอย่างน้อย 1 เดือน
เยื่อหุ้มไขสันหลังยื่น
(Spina bifida)
ความผิดปกติของท่อประสาทตั้งแต่แรกเกิดจากพัฒนาการที่ผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง
Spina Bifida เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมาตามตำแหน่งที่บกพร่องนั้น พบบ่อยที่สุดที่บริเวณ lumbosacrum
ชนิดของกระดูกสันหลังโหว่
spin bifida occulta เป็นความผิดปกติของกระดูกสันหลังตรงตำแหน่ง vertebal arches ทำให้เกิดช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง
spina bifida cystica เป็นความผิดปกติของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง ทำให้มีการยื่นของไขสันหลังหรือเยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกสันหลังออกมา
2.1 meningocele มีลักษณะคล้ายกับชนิดที่ หนึ่ง แต่มีก้อนยื่นผ่านกระดูกสันหลังที่ผิดปกติออกมา ซึ่งก้อนหรือถุงนี้มีเยื่อหุ้มสมอง และน้ำไขสันหลัง แต่ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลังออกมาด้วย
2.2 myelomeningocele หรือ meningomyelocele มีความผิดปกติของกระดูกสันหลัง ที่มีก้อนยื่นผ่านกระดูกสันหลังที่ผิดปกติออกมา ก้อนหรือถุงนี้ประกอบด้วยเยื้อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลัง และไขสันหลัง ความผิดปกตินี้อาจส่งผลให้เกิดอัมพาต
การวินิจฉัย
อาการแสดงโดยตรง
2.การซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
ที่พบว่าทารกมีก้อนสีแดง นุ่มตรงบริเวณช่องต่อระหว่างกระดูก
ของกระดูกสันหลังหรือบริเวณสะโพก (Sacrum) และบริเวณบั้นเอว (Lumbar)
ได้รับยาบางชนิดขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ Valproic acid
มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ตรวจพบปริมาณน้ำคร่ำมากผิดปกติ (Polyhydramios)
พบมีกระดูกสันหลังแยก และพบอาจพบ myelomeningocele sac ยื่นออกจากด้านหลังของกระดูกไขสันหลัง
การพยาบาล
ให้การพยาบาลทารกแรกเกิดโดยทั่ว ๆ ไป
ให้การพยาบาลตามอาการ และการพยาบาลก่อนผ่าตัดในรายที่เป็นน้อย
3.สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
4.อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับสภาพทารก
1 more item...
ทารกตายในครรภ์
(Fetal demise)
แบ่งชนิดของทารกตายในครรภ์
การตายของทารกในระยะแรก (early fetal death)
การตายก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
การตายของทารกในระยะกลาง (intermediate fetal death)
การตายระหว่างอายุครรภ์
20-28 สัปดาห
การตายของทารกในระยะสุดท้าย (late fetal death)
การตายตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป บางครั้งหมายถึงทารกตายคลอด
สาเหตุ
ด้านมารดา
มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์โรคทางอายุรศาสตร
มารดาอายุมากกว่า 35 ปี
ภาวะทางสูติกรรม เช่น คลอดก่อนกำหนด
ไม่มาฝากครรภ์ หรือมาฝากครรภ์ไม่ครบตามกำหนด
มีภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด รกเกาะต่ำ
ความผิดปกติของสายสะดือ
1 more item...
ด้านทารก
มีภาวะพิการแต่กำเนิด
ทารกมีภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
มีการกดทับสายสะดือจากสายสะดือย้อย (prolapsed cord)
ด้านรก
รกลอกตัวก่อนกำหนด การติดเชื้อในโพรงมดลูก เส้นเลือดอุดกั้นในสายสะดือ สายสะดือผิดปกติ เช่น knot หรือ entanglement
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติมารดาพบทารกไม่ดิ้นหรือดิ้นน้อยลง
การตรวจร่างกาย
2.1 น้ำหนักตัวของมารดาคงที่หรือลดลง เต้านมมีขนาดเล็กลง
2.2 คลำยอดมดลูกพบว่าไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์ ไม่พบว่าทารกมีการเคลื่อนไหว
2.3 ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ได้
2.4 พบสิ่งคัดหลั่งสีน้ำตาลไหลออกทางช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยการ ultrasound
3.1 ทารกไม่มีการเต้นของหัวใจ
3.2 การเกยกันของกะโหลกศีรษะ (overlapping)
3.3 มีการหักงอของกระดูกสันหลัง เนื่องจากการเปื่อยยุ่ยของเอ็นที่ยึดกระดูกสันหลัง
3.4 ตรวจพบแก๊สในหัวใจ เส้นเลือดใหญ่ หรือช่องท้องทารก เรียกว่า Robert sign
1 more item...
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ด้านร่างกาย
ทารกตายในครรภ์เป็นเวลาตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป จะมีโอกาสเกิดภาวะเลือด ไม่แข็งตัว (coagulopathy)
มารดาจะมีภูมิคุ้มกันของร่างกายต่ำลง การทำหน้าที่ของ T-cell ลดต่ำลง มีโอกาสติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรียได้ง่ายขึ้น
ด้านจิตใจ
ทำให้เกิดความรู้สึกสูญเสีย ตกใจ ซึมเศร้า โทษตัวเอง
อาจพบว่ามีการใช้บุหรี่ สุรา สารเสพติดหรือยากล่อมประสาทสูงกว่าประชากรทั่วไป
ภรรยามีความพยายามที่จะตั้งครรภ์ทันที
การพยาบาล
ให้การประคับประคองทางด้านจิตใจ
2.แนะนำให้สามีและครอบครัวให้กำลังใจ ปลอบใจ
ประเมินความต้องการสัมผัสกับทารกแรกคลอดที่เสียชีวิต
ดูแลให้ได้รับการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ตามแผนการรักษาของแพทย์
ติดตามผลการตรวจเลือด
ให้ได้รับยายับยั้งการหลั่งน้ำนมตามแผนการรักษาของแพทย์