Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักการทฤษฎีการบริหาร - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักการทฤษฎีการบริหาร
ทฤษฎี
ความหมาย
แนวความคิดหรือความเชื่อที่เกิดขึ้นอย่างมีหลักเกณฑ์ มีการทดสอบและสังเกตจนเป็นที่แน่ใจ เป็นข้อสรุปอย่างกว้าง ๆ ที่พรรณนาและอธิบายพฤติกรรมการบริหารองค์การอย่างเป็นระบบ
เกณฑ์การพิจารณาทฤษฎี
ทฤษฎีที่ดีจะต้องสร้างขึ้นมาอย่างสมเหตุสมผล (Rational)
ทฤษฎีที่ดีจะต้องมองในภาพกว้าง (Comprehensive)
ทฤษฎีที่ดีจะต้องมีความกระจ่างชัด (Explicit)
ทฤษฎีที่ดีจะอธิบายอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม (Parsimonious)
ทฤษฎีที่ดีจะต้องสามารถใช้ในการวิจัยได้ (Research)
ประโยชน์ของทฤษฎี
ทำให้เกิดความรู้ ความคิดใหม่ ๆ
ใช้ประกอบการทำนายเหตุการณ์ พฤติกรรม
ช่วยขยายประสิทธิภาพของการทำงาน
เป็นหลักยึดในการปฏิบัติ
เปรียบเสมือนแผนที่หรือแสงสว่างในการนำทาง
ทฤษฎี ได้เสนอแนะสิ่งต่าง ๆ ไว้ 3 ประการ
ทฤษฎีประกอบด้วยมโนทัศน์ คติฐานเบื้องต้น
และข้อสรุปทั่วไปอย่างมีเหตุผล
หน้าที่หลักของทฤษฎีคือ เพื่อพรรณนาหรืออธิบาย
และพยากรณ์พฤติกรรม
ทฤษฎีเป็นเครื่องช่วยค้นคว้าการเรียนรู้
หลักการนำทฤษฎีไปปฏิบัติ
การนำทฤษฎีไปปฏิบัติเป็นเพียงพื้นฐานเท่านั้น
ต้องนำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์
การบริหาร
ความหมาย
เป็นเรื่องของการทำกิจกรรมโดย ผู้บริหาร และสมาชิก
ในองค์การ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ
หน้าที่ทางการบริหาร
การวางแผน
(Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การนำ
(Leading) และการควบคุม (Controlling)
องค์ประกอบของการบริหาร
องค์การ
ผู้บริหาร
สมาชิกองค์การ
ปัจจัยทางการบริหาร
หน้าที่ทางการบริหาร
ปัจจัยทางการบริหาร (4 M’s)
คน (man)
เงิน (money)
วัสดุอุปกรณ์ (material)
การจัดการ (management)
หน้าที่ทางการบริหาร(Managerial Functions)
การวางแผน
กำหนดจุดหมายและวิธีการ
การจัดองค์การ
จัดสรรและจัดแจงทรัพยากร
การนำ
มีอิทธิพลต่อผู้อื่นเพื่อการปฏิบัติงาน
การควบคุม
จัดวางระเบียบเพื่อบรรลุจุดหมาย
ระดับของผู้บริหาร (Levels of Managers)
ผู้บริหารระดับสูง
รับผิดชอบต่อองค์การทั้งหมด
ผู้บริหารระดับกลาง
รับผิดชอบต่อหน่วยงานและ
ผู้บริหารระดับต้นที่อยู่ใต้สังกัด
ผู้บริหารระดับต้น
รับผิดชอบต่อหน่วยงานและ
ผู้ปฏิบัติงานในสังกัด
ทักษะการบริหาร
(Management Skills)
ทักษะด้านเทคนิควิธี (Technical Skills)
ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ (Human Skills)
ทักษะด้านความคิดรวบยอด / เชิงมโนทัศน์