Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแสดงพื้นเมือง4ภาค, ((นางสาวกิตติมา บัวพรม เลขที่27)), ((นายพชรพล…
การแสดงพื้นเมือง4ภาค
ภาคกลาง
การแต่งกาย
การเเต่งกาย ตัวละครนั้นจะเป็นชาวบ้านทั้งหญิงและชาย จะเป็นแต่งชุดม่อฮ่อม ซึ่งเป็นชุดที่เรียบง่าย ไม่หรูหรา เป็นชุดพื้นบ้าน ที่เห็นแล้วจะทำให้รู้ได้เลยว่าการแสดงชุดนี้ต้องเกี่ยวกับการทำนา
เครื่องดนตรี
ดนตรีที่ใช้ประกอบ
ใช้เครื่องดนตรีพื้นบ้าน เช่น กลองยาว กลองโทน ฉิ่ง ฉาบ กรับ และโหม่ง ดนตรีจะมีจังหวะที่สนุกสนาน
บุคคลสำคัญ
บุคคลสำคัญ นายมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญดนตรีไทยและศิลปินแห่งชาติ ส่วนท่ารำนั้นท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนีผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทยและศิลปินแห่งชาติ เป็นผู้คิดและออกแบบท่า บุคคลสำคัญ นายมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญดนตรีไทยและศิลปินแห่งชาติ ส่วนท่ารำนั้นท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนีผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทยและศิลปินแห่งชาติ เป็นผู้คิดและออกแบบท่ารำ
-
การแสดง
การแสดงระบำชาวนา เป็นการแสดงที่ไม่มีการขับร้อง ไม่มีเนื้อเพลง มีเพียงดนตรี ประกอบจังหวะซึ่งเป็นดนตรีที่มีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
-
ภาคอีสาน
การแต่งกาย
ผู้ชาย สวมเสื้อม่อฮ่อม นุ่งกางเกงขาก๊วย มีผ้าขาวม้าโพกศีรษะและสะเอว มือถือตะข้อง
ผู้หญิง นุ่งผ้าซิ่นพื้นบ้านอีสาน ผ้ามัดหมี่มีเชิงยาวคลุมเข่า สวมเสื้อตามลักษณะของผู้หญิงชาวภูไท คือสวมเสื้อแขนกระบอกคอปิด ผ่าอกหน้า ประดับเหรียญโลหะสีเงิน ปัจจุบันใช้กระดุมพลาสติกสีขาวแทน ขลิบชายเสื้อ คอปลายแขน และขลิบ ผ่าอกตลอดแนวด้วยผ้าสีติดกัน
เครื่องดนตรี
เครื่องดนตรีที่ใช้สำหรับการเซิ้งกลองยาว กลองเต๊ะ แคน ฆ้องโหม่ง กั๊บแก๊บ ฉิ่ง ฉาบ กรับ
การแสดง
การแสดงของภาคอีสานเรียกว่า เซิ้ง เป็นการแสดงที่ค่อนข้างเร็ว กระฉับกระเฉง สนุกสนาน เช่น เซิ้งกระติบข้าว เซิ้งโปงลาง
-
บุคคลสำคัญ
บุคคลสำคัญพระยาแถนหลวง,ศรีคันธพะเทวดา,ครูอัน
-
-
ภาคใต้
การแต่งกาย
เครื่องแต่งกาย ประกอบด้วย เทริด เป็นเครื่องประดับศีรษะของตัวนายโรง,โนราใหญ่หรือตัวยืนเครื่อง เครื่องลูกปัดร้อยด้วยลูกปัดสีเป็นลายมีดอกดวง ปีกนกแอ่นหรือปีกเหน่ง ทับทรวงปีกหรือหางหงส์ ผ้านุ่ง สนับเพลา ผ้าห้อยหน้า ผ้าห้อยข้างกำไลต้นแขน-ปลายแขน
-
บุคคลสำคัญ
บุคคลสำคัญ คล้าย พรหมเมศหรือมโนราห์คล้ายขี้หนอน ท่านมีท่ารำที่เป็นเอกลักษณ์ คือ "ท่าตัวอ่อน" และ "ท่ากินนรีเลียบถ้ำ" จึงทำให้มีสมญานามต่อมาว่า "คล้ายขี้หนอนผลงานและเกียรติคุณที่ได้รับ
ในปี พ.ศ. ๒๔๕๑ รัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าให้เข้าไปรำโนราถวายหน้าพระที่นั่งในพระบรมมหาราชวังกรุงเทพฯ
-
การแสดง
🔎•หนังตะลุงนิยมแสดงในงานนักขัตฤกษ์
•ลิเกป่านิยมแสดงในงานทั่วไป
•โนราแสดงเพื่อความเป็นสิริมงคล
ตอนใต้ •ปาเต๊ะลีลานำมาจากกรรมวิธี การย้อมทำลวดลายโสร่งปาเต๊ะของไทยมุสลิมใช้ผู้หญิงแสดงล้วน
•ตารีกีปัสเป็นการรำพัดได้ทั้งชายและหญิง
-
ลิเกฮูลู หรือ ดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐานเดิมมาจากคำว่า ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ และคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้ว คือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทิศใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ปาตง ในภาษามลายูถิ่นปัตตานี
เครื่องดนตรี
ดนตรีที่ใช้ประกอบ กลอง ทับคู่ ฉิ่งโหม่ง ปี่ชวา และกรับ ปัจจุบันพัฒนาเอาเครื่องดนตรีสากลเข้าร่วมด้วย
-
ภาคเหนือ
บุคคลสำคัญ
คุณบัวเรียว รัตนมณีกรณ์ ได้คิดท่ารำ
ลำดับขั้นตอนพิธีการ เมื่อคุณหญิงปัทมาเดินทางมาถึง ขบวนช่างฟ้อนจากมหาวิทยาลัยวัยที่สาม เทศบาลนครเชียงราย รำฟ้อนเล็บต้อนรับ ประกอบการบรรเลงเพลงล้านนา โดยวงปี่พาทย์ล้านนาชุมชนศรีทรายมู
-
เครื่องดนตรี
ดนตรีที่ใช้ประกอบการฟ้อน จะใช้วงดนตรีพื้นเมืองซึ่งมีสะล้อ ซอ ซึง
-
การแสดง
-
ฟ้อนสาวไหม เป็นการฟ้อนพื้นเมืองที่เลียนแบบมาจากการทอผ้าไหมของชาวบ้าน การฟ้อนสาวไหมเป็นการฟ้อนรำแบบเก่า เป็นท่าหนึ่งของฟ้อนเจิงซึ้งอยู่ในชุดเดียวกับการฟ้อนดาบ
-
-
-
-
-
-