Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสหสาขาวิชาชีพ,…
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสหสาขาวิชาชีพ
การจัดหาน้ำเพื่อบริโภคและอุปโภค
คุณลักษณะทางกายภาพ
ความขุ่น สี รสชาด กลิ่น และอุณหภูมิ
คุณลักษณะทางเคมี
ความเป็นกรดด่าง (pH) ต่้ำกว่า 7 จะมีสภาพเป็นกรด (มีรสเปรี้ยว) น้้ำที่มีค่า pH สูงกว่า 7 จะมีฤทธิ์เป็นด่าง (มีรสฝาด) น้้ำบริสุทธิ์จะมีค่า pH เท่ากับ 7 โดยทั่วไปน้้าดื่มจะมีค่า pH อยู่ในช่วง 6.5 ถึง 8.5
3.คุณลักษณะทางชีวภาพ
) น้ำฝน
2) น้ำผิวดิน
บ่อน้้ำตื้น หมายถึง บ่อที่มีความลึกไม่เกิน 10 ฟุต (3 เมตร)
บ่อน้้ำลึกหรือบ่อบาดาล หมายถึง หมายถึง บ่อที่มีความลึกเกินกว่า 3 เมตร
3) น้ำใต้ดิน
การใช้น้ำในการอุปโภคบริโภคจะต้องจัดทำบ่อน้ำให้ถูกหลักสุขาภิบาล
สถานที่ตั้งของบ่อควรเป็นที่สูง น้้ำท่วมไม่ถึง อยู่ห่างจากแหล่งทิ้งสิ่งปฏิกูล ห่างจากส้วมตั้งแต่ 30 เมตรขึ้นไป กรณีมีเนื้อที่ไม่มากหรือในโรงเรียน บ่อบาดาลควรห่างจากแหล่งโสโครกอย่างน้อย 10 เมตร
บ่อต้องลึกกว่า 3 เมตร บ่อบาดาลจัดว่าเป็นน้้ำที่สะอาดเหมาะส้าหรับบริโภค เพราะแบคทีเรีย เชื้อโรค และสิ่งสกปรกที่ปนอยู่จะถูกดินกรองเอาไว้ ไม่สามารถซึมผ่านดินลงได้ถึง 3 เมตร
มีวงขอบบ่อเพื่อป้องกันดินพัง ยาหรือฉาบด้วยซีเมนต์รอบๆขอบบอเสนอ และฉาบให้ลึกอย่างน้อย10 ฟุตนับจากผิวดินลงไป เพื่อป้องกันไม่ให้น้้ำจากภายนอกบ่อซึมเข้าไปในบ่อได้
ทำชานซีเมนต์รอบปากบ่อ รัศมีไม่น้อยกว่า 2 ฟุต (60 เซนติเมตร) นับจากขอบบ่อ
มีรางระบายน้้ำห่างจากบ่อไม่น้อยกว่า 5 ฟุต (1.5 เมตร) เพื่อระบายน้้ำที่ขังอยู่บนชานซีเมนต์
มีฝาปิดบ่อ สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กเพื่อให้มีความแข็งแรงในการที่จะใช้ติดตั้งเครื่องสูบน้้ำ
การผลิตน้ำสะอาด
การปรับปรุงคุณภาพน้ำทางกายภาพ
1.1 การต้ม การต้มนาน 20 นาที ทำลายเชื้อโรคและไข่พยาธิ
1.2 การใช้ตะแกรง ป้องกันการอุดตันและความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับระบบ
1.3 การกรอง มีวัตถุประสงค์เพื่อก้าจัดสารแขวนลอยออกจากน้้ำ
1.4 การตกตะกอน และตกตะกอนได้ง่าย คือ การเติมสารส้มเพื่อกำจัดความขุ่น
1.5 การกลั่น ต้มน้้าให้เดือด
1.6 การเติมอากาศและการลดอากาศการเติมออกซิเจนลงไปในนำ
การปรับปรุงคุณภาพน้ำทางเคมี
2.1 การสร้างตะกอน เพื่อกำจัดความขุ่น สี และจุลชีพ
2.2 การดูดซับ การกำจัดสารละลายอินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของ
กลิ่น สี และรสในน้้า ส
2.3 การฆ่าเชื้อโรคในน้ำโดยใช้สารเคมีการ
ใช้ความร้อนหรือการต้มให้เดือด การใช้รังสีอัลตราไวโอเลต และการใช้สารเคมีต่างๆ
1) การท้ำให้น้้าสัมผัสกับอากาศ (Aeration) โดยการทำให้น้้ำสารเคมีบางอย่างที่ละลายอยู่ในน้้ากลายเป็นสารที่ตกตะกอน แล้วสามารถก้าจัดออกได้โดยการ
2) การผสมสารเคมีลงไปในน้้า (Coagulation) โดยการผสมสารส้มหรือปูนขาวลงไป เพื่อเกิดตะกอนเร็วขึ้น เพื่อปรับสภาพความเป็นกรด-ด่างของน้้ำให้อยู่ในเกณฑ์
3) การตกตะกอน (Sedimentation) เป็นการทำให้ตะกอนที่เกิดขึ้นตกลงไปยังกันถังตกตะกอน
4) การกรอง (Filtration) เป็นการแยกเอาตะกอนหรือความสกปรกที่มีอยู่ในน้ำออกให้หมด
5) การทำลายเชื้อโรค (Disinfection) โดยการใส่คลอรีนลงไปในน้้าที่ผ่านการกรองมาแล้ว
6) การเก็บน้้าในถังสำหรับเก็บน้ำ (Clear wel)
7) การจ่ายน้้ำ(Distribution)
น้ำเสีย
ลักษณะของน้้ำเสียที่เป็นมลพิษ
ลักษณะทางกายภาพ คือ ของแข็งหรือสารที่แขวนลอยละลายในน้้ำ ความขุ่น น้้ำเสียมีอุณหภูมิสูงกว่าน้ำธรรมดาเล็กน้อย มีสีเทาปนน้้าตาลอ่อนๆ
ลักษณะทางเคมี
2.1 สารอินทรีย์
ออกซิเจนละลาย (Dissolved Oxygen [DO])
ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์
2.2 สารอนินทรีย์
ในโตรเจน คลอไรด์ น้้ำที่มีปัญหามลพิษ คือ น้้าที่มีค่า pH สูงกว่า 9.0 หรือ ต่้ากว่า 5.0 พิษและโลหะหนัก
2.3 ก๊าซ
ไฮโดรเจนซัลไฟด์และมีเทน
ลักษณะทางชีวภาพ
3.1 ปริมาณโคลิฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform)
โคลิฟอร์มเป็นกลุ่มของแบคทีเรีย ที่มีอยู่ในลำใส้ของสัตว์เลือดอุ่นและถูกปล่อยออกมาพร้อมกับอุจจาระ
คุณส่ง วันนี้ เวลา 13:24 น.
3.2 แบคทีเรียกลุ่มฟิคอลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform) ที่ส้าคัญคือ อี.โคไล ซึ่งมีความทนทานต่อคลอรีนมากกว่าจุลินทรีย์ชนิดอื่น
การบำบัดน้ำเสีย
การบำบัดทางกายภาพ (Physical treatment) เป็นวิธีการแยกเอาสิ่งเจือปน ออกจากน้้ำเสีย
การบำบัดทางเคมี (Chemical treatment) เป็นวิธีบ้าบัดน้ำเสียโดยใช้กระบวนการ ทางเคมีเพื่อทำปฏิกิริยากับสิ่งเจือปนในนำเสีย
3.การบำบัดทางชีวภาพ (Biological treatment) เป็นวิธีบำบัดน้้าเสียโดยใช้จุลินทรีย์ในการกำจัดสิ่งเจือปนในน้้ำเสียโดยเฉพาะสารคาร์บอนอินทรีย์ ไนโตรเจน และ ฟอสฟอรัส
กรรมวิธีกำจัดน้ำเสีย
1 การกำจัดโดยไม่ใช้กรรมวิธี
1.1 การทำให้เจือจางโดยน้ำน้้าเสียปล่อยทิ้งในแม่น้้า
1.2 การปล่อยทิ้งบนพื้นดิน
-การปล่อยให้น้้ำซึมลงใต้ดิน
-การปล่อยน้้ำให้ไหลไปตามพื้นดิน
การกำจัดโดยใช้กรรมวิธี
2.1 การปรับปรุงสภาพขั้นแรก เป็นวิธีแยกเอาของแข็งแขวนลอยออกจากน้้า ได้แก่ การใช้ตะแกรงเหล็กเพื่อแยกของแข็ง
การทำลายสารอินทรีย์ที่ละลายในน้้าทิ้ง
-การตกตะกอนขั้นที่สอง
การฆ่าเชื้อโดยใช้คลอรีนประมาณ 10-15 มิลลิกรัมต่อน้้า 1 ลิตร
2.3 การกำจัดตะกอนตะกอนที่ย่อยแล้วต้องถูกนำไปทำให้แห้ง สามารถใช้เป็นปุ๋ยหรือทิ้งโดยไม่ก่อให้เกิดกลิ่นร้าคาญ
สุขาภิบาลอาหาร
กระบวนการจัดการและควบคุมอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ ผู้สัมผัสอาหาร และสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในทุกกิจกรรมตั้งแต่ การเตรียมวัตถุดิบ การขนส่ง การปรุง การเก็บรักษา การถนอมอาหาร และการจำหน่ายอาหาร
สถานที่ประกอบและจำหน่ายอาหาร
ต้องสะอาด เป็นระเบียบและจัดเป็นสัดส่วน
โต๊ะเตรียม-ปรุงอาหาร และผนังเตาไฟต้องท้าด้วยวัสดุที่ท้าความสะอาดง่าย (เช่น สแตนเลส
ไม่เตรียมหรือปรุงอาหารบนพื้นและบริเวณหน้าหรือในห้องน้้ำ
สถานที่เตรียม-ปรุงอาหารมีการระบายอากาศ กลิ่น และควันจากการท้า อาหารได้ดี
ตัวอาหาร น้ำแข็ง เครื่องดื่ม
-อาหารสดต้องล้างให้สะอาดก่อนน้ามาปรุงหรือเก็บ การเก็บอาหารประเภท กางๆต้องแยกเก็บเป็น
สัดส่วน
-อาหารที่ปรุงส้าเร็จแล้ว เก็บในภาชนะที่สะอาดมีการปกปิด วางสูงจากพื้น อย่างน้อย 60 ซม.
ใช้สารปรุงแต่งอาหารที่ปลอดภัย มีเครื่องหมายรับรองอาหารของทางราชการ
อาหารและเครื่องดื่มต้องอยู่ในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท มีคุณภาพดี เก็บเป็นระเบียบ วางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม.
น้้าดื่ม เครื่องดื่ม น้้าผลไม้ ต้องสะอาด ใส่ในภาชนะที่สะอาด มีฝาปิด มี ก็อกหรือทางรินน้้าหรือมี
อุปกรณ์ที่มีด้ามส้าหรับตักโดยเฉพาะ และวางสูงจากพื้นอย่าง น้อย 60 ซม.
น้้าแข็งที่ใช้บริโภคต้องสะอาด เก็บในภาชนะที่สะอาด มีฝาปิด ใช้อุปกรณ์ ที่มีด้ามส้าหรับคีบหรือตัก
โดยเฉพาะ วางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. และต้องไม่มี สิ่งของอย่างอื่นแช่รวมไว้
ภาชนะอุปกรณ์
-ภาชนะอุปกรณ์ เช่น จาน ชาม ช้อม ส้อม ต้องท้าด้วยวัสดุที่ไม่เป็นอันตราย
-ภาชนะใส่น้้ำส้มสายชู น้้ำปลา และน้้าจิ้ม ต้องท้าด้วยแก้วหรือกระเบื้องเคลือบขาว มีฝาปิด
-เขียงและมีดต้องมีสภาพดี แยกใช้ระหว่างเนื้อสัตว์สุก เนื้อสัตว์ดิบ ผักและ ผลไม
-ล้างภาชนะโดยใช้น้้ำยาล้างภาชนะ แล้วล้างด้วยน้้ำสะอาด 2 ครั้ง
-ใช้อ่างล้างภาชนะอุปกรณ์ที่มีท่อระบายน้้าที่ใช้การได้ดี อย่างน้อย 2 อ่าง อุปกรณ์การล้างต้องวางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม.
จาน ชาม ถ้วย แก้วน้้า ฯลฯ เก็บคว่้าในภาชนะ/ตะแกรงวางสูงจากจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม.
ช้อน ส้อม ตะเกียบ วางตั้งเอาด้ามขึ้นในภาชนะโปร่ง สะอาด หรือวางเป็นระเบียบในภาชนะโปร่งสะอาดและมีการปกปิด เก็บสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม.
การรวบรวมขยะและน้ำโสโครก
-ใช้ถังขยะที่ไม่รั่วซึม และมีฝาปิด
มีบ่อดักเศษอาหารและดักไขมันที่ใช้การได้ดีก่อนระบายน้้ำเสียทิ้ง
มีท่อหรือรางระบายน้้ำที่มีสภาพดีไม่แตกร้าว ระบายน้้าจากห้องครัวและที่ล้างภาชนะอุปกรณ์ลงสู่ท่อระบายหรือแหล่งบ้าบัดได้ดี และต้องไม่ระบายน้้าเสียลงสู่แหล่งน้้ำสาธารณะโดยตรง
6.ผู้สัมผัสอาหาร (ผู้ปรุง ผู้เสิร์ฟ)
-มีสุขนิสัยที่ดี เช่น ตัดเล็บให้สั้น ไม่สูบบุหรี่ขณะปฏิบัติงาน แต่งกายสะอาด สวมเสื้อมีแขน ผูกผ้ากันเปื้อนที่สะอาด สวมหมวกหรือเน็ทคลุมผม
ล้างมือให้สะอาดก่อนเตรียม
-ปรุงอาหาร ใช้อุปกรณ์ในการหยิบจับอาหารที่ปรุงสำเร็จแล้ว
หากมีบาดแผลที่มือต้องปกปิดแผลให้มิดชิด หลีกเลี่ยงการท้างานที่มีโอกาสสัมผัสอาหาร
ผู้สัมผัสอาหารที่เจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถติดต่อไปยังผู้บริโภคโดยมีน้และอาหารเป็นสือ ให้หยุดปฏิบัติงานจนกว่าจะรักษาให้หายขาด
ห้องน้ำ ห้องส้วม
-ห้องน้้ำ ห้องส้วมต้องสะอาด ไม่มีกลิ่นเหม็น มีน้้ำใช้เพียงพอ
ห้องส้วมแยกเป็นสัดส่วน ประตูไม่เปิดสู่บริเวณที่เตรียม
-ปรุงอาหาร และเก็บภาชนะอุปกรณ์ หรือที่เก็บอาหาร
มีอ่างล้างมือที่ใช้การได้ดีอยู่ในบริเวณห้องส้วม และมีสบู่ใช้ตลอดเวลา
การควบคุมสัตว์อาร์โทรปอดและสัตว์กัดแทะ
1) นำโรคโดยตรง
ยุงน้ำเชื้อไข้
มาลาเรีย ไข้เลือดออก
2) การนำโรคโดยการเป็นสื่อสัมผัส
แมลงวัน แมลงสาบ เป็นพาหะนำโรคอุจจาระร่วง
แมลงและสัตว์นำโรคที่ต้องควบคุมและป้องกัน
ยุง
การควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์
1.1 การระบายน้้ำ อาจท้าเป็นร่องระบายน้้ำ ทางระบายน้้ำใต้ดิน เพื่อให้น้้าไหลสะดวก ไม่มีน้้ำขัง
1.2 การถมที่ อาจถมด้วยดิน ขี้เถ้า แกลบ ขี้เลื่อย หรือวัสดุอื่นที่ไม่บูดเน่า
1.3 การให้สุขศึกษาแก่ประชาชนเพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
ระยะตัวเต็มวัยหรือยุง
การพ่นสารเคมี การใช้กับดัก ยุง การป้องกันมิให้ยุงกัดโดยใช้มุ่งลวด นอนกางมุ้ง ใช้ยาทากันยุง หรือใช้ยาจุดไล่ยุง
การควบคุมยุงตามระยะต่างๆของวงจรชีวิตยุง
2.1 ระยะไข่ ทำได้โดยการขัดล้างตามผิวภาชนะที่นำขังต่างๆ
2.2 ระยะลูกน้้ำและตัวโม่ง เป็นวิธีกำจัดยุงที่ได้ผลดีกว่าระยะอื่นๆ
-ปิดฝาภาชนะเก็บน้้ำให้มิดชิด โดยปิดปากภาชนะ
ภาชนะที่ปิดฝาไม่ได้ เช่น บ่อซีเมนต์ในห้องน้้ำให้ใส่ทรายก้าจัดลูกน้้าใน อัตราส่วน 10 กรัมต่อน้้ำ 100 ลิตร หรือใส่ปลาหางนกยูง 2-10 ตัว
คว้าภาชนะที่ไม่ใช้ประโยชน์หรือหาสิ่งปกคลุมให้มิดชิด
เก็บทำลายเศษวัสดุและเศษภาชนะ เช่น ให้แตก กะลา ยางรถยนต์เก่า กระป๋อง ขวด
ใส่เกลือครึ่งช้อนชา น้้ำส้มสายชู 2 ช้อนชา หรือผงซักฟอกครึ่งช้อนชาลง ในถ้วยรองขาตู้กับข้าวโดยเปลี่ยนน้้ำใหม่และใส่สารดังกล่าวใหม่ทุกเดือนจะท้าให้ยุงลาย ไม่วางไข่ หรือเทน้้ำเดือดลงในถ้วยรองขาตู้กันมดทุก 7 วัน เพื่อฆ่าลูกน้้ำ
เปลี่ยนถ่ายน้้ำในแจกัน เทน้้ำที่ยังอยู่ในจานรองกระถางต้นไม้ทิ้งทุก 7 วัน
ใช้สารเคมีกำจัดลูกน้้ำ เช่น น้้ำมันก๊าด น้้ำมันดีเซล ดีดีที ทรายอะเบต การควบคุมวิธีนี้มีผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย
แมลงวัน
การควบคุมแมลงวันภายในอาคารและที่พักอาศัย
1.1 กำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฎิกูลอย่างเหมาะสม
1.2 ใช้วิธีทางกลและทางกายภาพ
1.3 ใช้วิธีทางเคมี โดยการใช้ยาฆ่าแมลงวันตัวอ่อนและตัวแก่
การป้องกันและควบคุมแมลงวัน
2.1 การบำรุงรักษาความสะอาดในสถานที่ต่างๆ
2.2 การมีระบบกำจัดสิ่งปฏิกูลตามหลักสุขาภิบาล
2.3 มีการกำจัดมูลฝอยในชุมชนที่ถูกต้องและเหมาะสม
2.4 จัดให้มีการบำบัดและกำจัดน้ำสียในชุมชนที่ถูกต้องและเหมาะสม
แมลงสาบ
ป้องกันไม่ให้แมลงสาบเข้าสู่ตัวอาคาร โดยใช้ตะแกรงหรือติดมุ่งลวดตามประตู เก็บกวาดให้สะอาด อุดช่องว่างหรือรอยแยก
ควบคุมแมลงสาบภายในอาคารหรือที่พักอาศัย กาวดัก กรดบอริคผสมแป้งใช้สารฆ่าแมลงที่มีขายตามท้องตลาด เช่น มาลาไทออนหรือไบกอนในรูปของสเปรย์ หรือใช้ผงบอแรกวางไว้ตามทางเดินของแมลงสาบ เช่น ใต้อ่างล้างมือ ใต้อ่างอาบน้้
การกำจัดขยะมูลฝอย
ขยะมูลฝอยเปียก ได้แก่ เศษอาหาร พืชผัก อินทรียวัตถุ
ขยะมูลฝอยแห้ง ได้แก่ เศษกระดาษ เศษผ้า แก้ว โลหะ ไม้ พลาสติก ยาง ทั้งที่ เผาไหม้และ เผาไหม้ไม่ได้
ขยะมูลฝอยอันตราย ได้แก่ สารฆ่าแมลง ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต์ หลอดไฟ สเปรย์ฉีดผม
ถังสีฟ้า เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่ส้าเร็จรูป ถุงพลาสติก โฟมและฟอล์ยที่เปื้อนอาหา
วิธีการกำจัดขยะมูลฝอย
การทิ้งหรือถมที่
1.1 การทิ้งบนดิน วิธีนี้ไม่ควรนำมาใช้เนื่องจากควบคุมได้ยาก
1.2 การทิ้งทะเล ทิ้ลงทะเล
2.การเผา
2.1 การเผากลางแจ้ง มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแล้วยังก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน เช่น ระคายเคืองตา เกิดโรคหอบหืด
2.2 การเผาในเตาที่ถูกวิธี เหมาะสำหรับขยะที่มีการปนเปื้อนเชื้อโรค
การฝัง
3.1 การฝังธรรมดา หลังเทขยะลงในหลุมแต่ละครั้งให้น้าดินกลบอย่างน้อย 20 ซม. ถ้าใส่ขยะลงไปหนา 3 ฟุต ดินที่กลบจะต้องหนา 1-2 ฟุต
3.2 การฝังกลบที่ถูกหลักสุขาภิบาล การเทขยะมูลฝอยลงไปแล้วเกลี่ยขยะให้กระจายพร้อมกับบดทับให้แน่น จากนั้นใช้ดินกลบ แล้วจึงบดทับให้แน่นอีกเป็นครั้งสุดท้าย
การนำขยะไปเลี้ยงสัตว์เป็นการนำขยะเปียกหรือเศษอาหารของมนุษย์ไป เลี้ยงสัตว์โดยนำไปต้มให้เดือดนาน 30 นาที เพื่อทำลายเชื้อโรคหรือไข่พยาธิ
การหมัก
ขยะเปียกไปบดหรือสับให้มีชิ้นเล็กลงเพื่อให้ จุลินทรีย์ที่ต้องการออกซิเจนย่อยสลายได้ง่ายขึ้น หากเป็นขยะจำพวกมูลสัตว์ให้น้ามาคลุกกับฟางหรือหญ้าที่สับละเอียด จากนั้นน้าไปกองสุมไว้ในบ่อหมักหรือสุมกองไว้บนดิน
การกำจัดสิ่งปฏิกูล
การบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลให้ถูกสุขลักษณะ
1) สิ่งปฏิกูลต้องไม่ปนเปื้อนต่อผิวดิน
2) สิ่งปฏิกูลต้องไม่ปนเปื้อนต่อน้ำใต้ดิน
3) สิ่งปฏิกูลต้องไม่ปนเปื้อนต่อน้้าผิวดิน
4) ต้องไม่เป็นที่อยู่อาศัยของแมลงและสัตว์ต่างๆ
5) ต้องไม่มีการขนถ่ายอุจจาระสด หรือหากจ้าเป็นต้องขนถ่ายให้ทำการขนถ่ายน้อยที่สุด
6) ต้องปราศจากกลิ่นเหม็นรบกวนหรือสภาพที่น่ารังเกียจ
ส้วมซึม ใช้น้ำทำความสะอาดโถส้วม และน้ำขังอยู่ในคอห่านของส้วมเพื่อป้องกันกลิ่นเหม็น
ส้วมหลุม ปัจจุบันไม่นิยมใช้ยกเว้นพื้นที่กันดาร เนื่องจากแมลงและสัตว์สามารถเข้าถึงได้ง่าย
ส้วมถังเท ทำความสะอาดภาชนะดังกล่าวเพื่อน้ำไปใช้ใหม่ ภาชนะรองรับควรเป็นถังเหล็กหรือวัสดุอื่นที่ไม่ซึมและมีน้้ำหนักเบา
ส้วมถังเคมี น้้าผสมน้้ำยาเคมีฉีดชะล้างโถส้วมเพื่อท้าความสะอาด เมื่ออุจจาระ หล่นไปในถัง ส้วมประเภทนี้นิยมใช้บนเครื่องบินหรือบนรถยนต์โดยสาร
ส้วมถังเกรอะ กำจัดอุจจาระไปในตัวโดยวิธีการของจุลินทรีย์และการตกตะกอน เมื่ออุจจาระเต็มถังเกรอะแล้ว อาจใช้วิธีสูบอุจจาระใส่รถเพื่อน้าไปกำจัดต่อไป
สุขาภิบาลที่พักอาศัย
.1 ความต้องการพื้นฐานทางด้านร่างกาย
1.1 การระบายอากาศ (Ventilation)
1.2 เสียงรบกวน (Noise)
1.3 แสงสว่าง (Lighting)
ความต้องการพื้นฐานทางด้านจิตใจและสังคม
2.1 ความเป็นส่วนตัวของผู้อยู่อาศัยและความเป็นสัดส่วนเพื่อประโยชน
2.3 มีพื้นที่ว่างพอที่จะใช้อยู่อาศัย พักผ่อน และออกก้าลังกายโดยไม่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ
2.5 การมีที่อยู่อาศัยที่สามารถทำความสะอาดได้ง่าย มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย
การป้องกันโรคติดต่อ
การจัดที่พักอาศัยให้มีสิ่งแวดล้อมที่สะอาดและเหมาะสม เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้อยู่อาศัยได้สัมผัสกับตัวการที่ท้าให้เกิดโรคหรือพาหะนำโรคติดต่อ ต่างๆได้แก่ จัดให้มีน้้าสะอาดอย่างเพียงพอต่อความต้องการของผู้อยู่อาศัย มีการกำจัด ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลที่ถูกสุขลักษณะ
การป้องกันอุบัติเหตุ
4.1 อุบัติเหตุจากการพลัดตกหกล้ม เช่น การทำราวบันได มีแถบกันลื่นที่บันไดแต่ละขั้น จัดให้มีแสงสว่างตรงทางขึ้นลงหรือบริเวณทางเดิน
4.2 อุบัติเหตุจากอัคคีภัย
ัสดุที่ใช้ในการสร้างห้องครัว เตาไฟ ผู้อยู่ อาศัยต้องหมั่นตรวจสภาพวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้อยู่เสมอ ควรมีเครื่องดับเพลิงไว้ใช้ประจำบ้าน
4.3 อุบัติเหตุจากไฟฟ้า ป้องกันโดยใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าและการเดินสายไฟฟ้าที่มี ความปลอดภัย
เช่น สายไฟฟ้าที่มีมาตรฐาน มีอุปกรณ์ตัดกระแสไฟฟ้าเมื่อเกิดไฟฟ้ารั่ว
นางสาวกฤติยาภรณ์ แสนสุข
รหัสนักศึกษา 624N46101