Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น รักษาโรคเบื้องต้นทางศัลยกรรม - Coggle Diagram
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น รักษาโรคเบื้องต้นทางศัลยกรรม
Wound Types
การแยกหรือฉีกขาดออกของผิวหนัง
Open wound คือบาดแผลที่มีการฉีกขาด
Closed wound คือบาดแผลที่ไม่มีการฉีกขาดของผิวหนัง โดยการบาดเจ็บเกิดขึ้นใต้ผิวหนังลงไป
ลักษณะของบาดแผล
Contusion wound บาดแผลที่มีการฟกช้ำของเนื้อเยื้ออ่อน
Puncture wound แผลถูกทิ่มแทง
Laceration wound แผลฉีกขาดที่อาจเป็นได้ทั้งฉีกขาดตื้นและเป็นแผลลึก
Avulsion wound แผลที่มีส่วนของผิวหนังแยกจากชั้น subcutaneous tissue ที่อยู่ข้างล่างชั้นต่างๆของ dermis, subcutaneous tissue, fascia และกล้ามเนื้อจะสามารถถูกแยกกันได้ด้วยแรงที่ฉีกเนื้อเยื้อออกCrush injury wound แผลที่ได้รับแรงกดจากภายนอกสูงทําให้ผิวหนังถูกบดช้ำบางส่วน
Wound management
1.Hemostasis การห้ามเลือด
2.Wound cleansing การทำความสะอาดบริเวณบาดแผลก่อนการทําหัตถการ
3.Wound exploration การสํารวจภายในบาดแผล ว่ามีการปนเปื้อนวัสดุแปลกปลอมใดๆ (foreign body) อยู่ภายในบาดแผลหรือไม่
4.Debridement การตัดเนื้อตายและนําสิ่งแปลกปลอมออกจากบาดแผล
Wound closure
Primary closure การเย็บปิดแผลภายหลังจากการทําความสะอาดบาดแผลจนเรียบร้อยแล้วทันที
Secondary closure การรักษาบาดแผลแบบทําแผลไปเรื่อยๆจนบาดแผลหายสนิทเอง
Delayed primary closure ล้างทําความสะอาดบาดแผลแต่ยังไม่เย็บปิดแผล จากนั้นนัดผู้ป่วยมาทําแผลทุกวัน จนแน่ใจว่าไม่มีการติดเชื้อแล้วจึงทําการเย็บปิดแผล
ขั้นตอนการเย็บแผล
1.เลือกเข็มให้เหมาะกับเนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่จะเย็บ
เข็มปลายหน้าตัดเป็นสามเหลี่ยม (cutting needle) เหมาะสําหรับเย็บผิวหนัง
เข็มปลายหน้าตัดเป็นวงกลม (round needle)เหมาะสําหรับเย็บเนื้อเยื่ออ่อน
2.การถือที่จับเข็ม (needle holder) ควรจับให้ด้ามอยู่ในอุ้งมือ และนิ้วชี้วางบริเวณข้อต่อ เพื่อให้การตักเข็มมีความแม่นยํา และมั่นคง
3.ให้ปลายเข็มตั้งฉากกับพื้นผิว แล้วตักเข็มให้ไปโผล่อีกด้านของแผล แล้วนํา needle holder มาจับเข็มที่โผล่มา
4.การผูกปมด้วยเครื่องมือ needle holder การผูกปมที่ถูกต้องควรเป็น squareหรือ surgical knot เพื่อไม่ให้ปมเลื่อนหลวมออกได้
Incision and Drainage
ฝี (Abscess or furuncle)
การรักษา
การใช้ Hot packs และทํา incision and drainage และการใช้ยาปฏิชีวนะ
ฝีฝักบัว (carbuncle)
การรักษา
1.ตรวจเบาหวาน
2.ให้ยาปฎิชีวนะ
3.ให้ยาแก้ปวด
4.ประคบความร้อน
5.ผ่าหนองออก
เล็บขบ (Ingrown toenail or onychocryptosis)
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น cloxacillin 250-500 mg วันละ 4 ครั้ง ถ้าแพ้ยากลุ่ม penicillin
ให้ใช้ erythromycin
ถ้ามีหนองให้ผ่าเอาหนองออกจะหายเร็วยิ่งขึ้น อาจถอดเล็บ หรือตัดบางส่วนของเล็บออก
คําแนะนําสําหรับผู้ป่วยที่มีบาดแผล
1.ดูแลความสะอาดของแผล
2.สังเกตอาการผิดปกติ แผลบวมแดง มีไข้ หรือ มีอาการปวด มีหนองให้มาพบแพทย์
3.ให้มาตัดไหมตามนัด ถ้าเป็นแผลเย็บไม่ค่อยปล่อยให้ไหมค้างคาไว้นานเกินไป
4.แนะนําการมารับภูมิคุ้มกันต่อเนื่องให้ครบตามกําหนดของการให้ภูมิคุ้มกันของแต่ละโรค