Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความร่วมมือในการวิเคราะห์สารสนเทศ - Coggle Diagram
ความร่วมมือในการวิเคราะห์สารสนเทศ
มาตรฐานสากลในการลงบรรณานุกรม
(International Standard Bibliographic – ISBD)
1.2 เพื่อให้ข้อความที่บันทึกไว้ซึ่งจัดทำขึ้นในแต่ละประเทศและใช้ภาษาต่างๆ กัน สามารถนำมาจัดเรียงหรือทำเป็นรายการรวมเข้าไว้ด้วยกันได้
1.3 เพื่อให้ข้อความที่บันทึกไว้ในรูปแบบของการเขียนที่หรือพิมพ์เป็นภาษาต่างๆ
1.1 เพื่อให้ข้อความที่บันทึกไว้ซึ่งจัดทำขึ้นในประเทศหนึ่ง หรือโดยผู้ใช้ที่ใช้ภาษาหนึ่ง
2.การจัดดำเนินงานวิเคราะห์สารสนเทศในศูนย์กลาง (Centralized processing)
2.1 เพิ่มประสิทธิภาพในการวิเคราะห์สารสนเทศ สามารถวิเคราะห์สารสนเทศได้เป็นจำนวนมาก โดยใช้เวลาน้อยลง
2.2เพิ่มคุณภาพในการวิเคราะห์สารสนเทศเพราะที่ศูนย์กลางจะมีผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้วิเคราะห์สารสนเทศ
2.3 สามารถปฏิบัติงานประจำวันในการให้บริการสารสนเทศได้สะดวก และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
2.4 ลดจำนวนบุคลากรได้ โดยจ้างเฉพาะผู้เชี่ยวชาญ
2.5 สามารถนำอุปกรณ์ที่ทันสมัย เช่น คอมพิวเตอร์มาใช้ในการดำเนินงานได้มากขึ้น
2.6 มีโอกาสที่จะร่วมมือกันในการทำสหบัตร (Union Catalog) ซึ่งเอื้อต่อการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (International Standard Book Number - ISBN)
เลขรหัสสากลที่กำหนดขึ้นใช้กับหนังสือทั่วไป โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้เป็นสัญลักษณ์ของหนังสือแต่ละเล่ม
เพื่อความสะดวก ถูกต้องและรวดเร็วทั้งในการดำเนินงานด้านควบคุมข้อมูลของหนังสือด้วยคอมพิวเตอร์
ด้านการสั่งซื้อหนังสือ การแลกเปลี่ยนหนังสือ
เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number - ISSN)
เลขรหัสสากลที่กำหนดให้กับสิ่งพิมพ์ที่กำหนดออก
เป็นระยะ หนังสือชุด และวารสารด้วยหลักการและวิธีเดียวกันกับเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ และมีความเกี่ยวข้องกันคือ สิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกแน่นอน
หนังสือรายปี
หนังสือชุด
สิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกแน่นอน เช่น
หลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2
(Anglo American Cataloging Rule 2nd ed - AACR2)
หลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นหลักเกณฑ์การลงรายการที่จัดทำขึ้นโดยความร่วมมือของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน สมาคมห้องสมุดอังกฤษ และสมาคมห้องสมุดแคนาดา
การบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมสำหรับอ่านด้วยคอมพิวเตอร์ (Machine Readable Cataloging – MARC)
เป็นรูปแบบที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
การจัดทำข้อมูลในการลงรายการในสิ่งพิมพ์ (Cataloging In Publication – CIP)
การจัดทำข้อมูลในการลงรายการในสิ่งพิมพ์ หรือ CIP
การลงรายการด้วยความร่วมมือของสำนักพิมพ์ โดยสำนักพิมพ์จะส่งฉบับพิสูจน์อักษรเป็นครั้งแรกของหนังสือพิมพ์ไปยังศูนย์กลางการทำบัตรรายการ
จะทำการบันทึกบรรณานุกรมส่งไปยังผู้พิมพ์
หอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นหน่วยงานแรกที่ได้เริ่มทำ CIP
ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 โดยขอความร่วมมือจากสำนักพิมพ์ต่างๆ ที่ต้องส่งหนังสือให้กับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ส่งหนังสือฉบับที่จะพิสูจน์อักษรมาให้วิเคราะห์ก่อนจัดพิมพ์
จัดพิมพ์ หนังสือที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาจึงมีการบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมบางส่วน ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ชื่อชุดหนังสือ หมายเหตุ หัวเรื่อง และรายการอื่นๆ สำหรับทำบัตรเพิ่ม
ระบบความร่วมมือ (Cooperative system)
เป็นการตกลงกันในกลุ่มสถาบันบริการสารสนเทศที่จะใช้ข้อมูลทางบรรณานุกรมร่วมกัน โดยมีศูนย์กลาง 1 แห่ง เป็นที่รวบรวมข้อมูลอาจทำในระดับภูมิภาค ระดับประเทศ หรือระหว่างประเทศ