Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ป.5เรื่องที่2 พุทธสาวก ชาดกและพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง - Coggle Diagram
ป.5เรื่องที่2 พุทธสาวก ชาดกและพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง
1.พุทธสาวก
พระโสณโกฬิวิสะ
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง
เป็นเลิศด้านปรารถนาความเพียรในพระพุทธศาสนา
ประวัติ
พระเจ้าพิมพิสาร เมืองราชคฤห์ให้โสณโกฬิวิสะไปเข้าเฝ้า เมื่องได้ฟังธรรมก็ขอออกบวช
ท่านได้ศึกษาหลักธรรมด้วยความเพียรอย่างหนักจนร่างกายได้รับความลำบากจนฝ่าเท้าแตก พระพุทธเจ้าให้ปฎิบัติแบบมัชณิมาปฎิปัทธาตามสภาพร่างกายและสติอย่างสมำ่เสมอ
เป็นลูกเศรษฐีในเมืองจามปานคร มีสีผิวดั่งทอง มีฝ่ามือฝ่าเท้าและมีขนอ่อนขึ้น
พุทธสาวกคื
อ1.ผู้ที่ปฎิบัติตามคำสั่งสอนและ 2.มีบทบาทช่วยเผยแผ่พุทธศาสนา 3.เป็นแบบอย่างที่ดีที่พุทธศาสนิกชนควรปฎิบัติตาม
2.ชาดก
จูฬเสฎฐิชาดก
สอนให้รู้ว่า ผู้มีปัญญาฉลาดสามารถสร้างฐานะได้ด้วยทุนทรัพย์เพียงเล็กน้อย
จูฬันเตวาสิก ยาจกที่ได้เป็นเป็นเศรษฐีเพราะหนูตาย
วัณณาโรหชาดก
สอนให้รู้ว่าคนมีความรู้ย่อมหนักแน่นอยู่ในความสามัคคีไม่แตกแยกกับหมู่คณะด้วยคำยุยงของผู้อื่น
เสือ สิงโต และสุนัขจิ้งจอก
3.พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง
สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสสเทโว)
บวชเป็นสามเณรอยุ่วัดใหม่ บางขุนเทียนและเป็น รูปแรกที่ได้
เปรียญธรรม 9 ประโยคซึ่งเป็นชั้นสูงสุดในพุทธศาสนา
คุณธรรมเที่ถือเป็นแบบอย่าง
คือ หมั่นศึกษาหาความรู้ มีวัตรปฎิบััติที่ดีงามและทรงมีความกตัญญูต่อพระพุทธศาสนาโดยเผยแผ่หลักธรรม
เกิดที่อ.บางไผ่ จ.นนทบุรี
อุปสมบทเป็นภิกษุครั้งแรกที่ อยู่
วัดราชาธิวาสวิหาร
ลาสิกขา
ร.4 ให้
อุปสมบทคร้งที่2ทีวัดบวรนิเวศวิหาร
และได้ศึกษาเปรียญธรรม9ประโยคครั้งที่ 2 จึงได้สมญานามว่า
มหาสา ปุสสเทโว เปรียญ18ประโยค
สถาปนาเป็น
สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 9 แห่งรัตนโกสินทร์
อยู่วั
ดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม
ทรงแตกฉานในพระธรรมวินัย + มีบทบามในการ
สังคายนาพระไตรปิฏก ร.5
+ นิพนธ์ตำราพระพุทธศาสนา
อาจารย์เสถียร โพธินันทะ
ในขณะมีอายุ20ปี ทา่นได้อุปสมบทวัด
กัลมายุตาราม
คุณธรรมที่ถือเป็นแบบอย่างคือ
เป็นผู้ที่มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้พระพุทธศาสนาและเผยแผ่พุทธศาสนาตลอดมา
อยู่กลุ่มผู้ริเริ่ม
ยุวพุทธิกสมาคมแห่งชาติไทย
ได้แต่งหนังสือและบทความพระพุทธศาสนามากมาย
และลาสิกขามาเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยสงฆ์
อายุเพียง19ปี ท่านได้ชื่อว่าเป็น
นักปราชญ์ในวงการศาสนา ท่านมีความสามารถพุูดได้ 7ภาษา
ชื่อโพธินันโท คือผู้มีความพอใจในการตรัสรู้