Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่15 การรักษาเบื้องต้นเร่งด่วนอายุรกรรมกลุ่ม2&3 - Coggle Diagram
บทที่15 การรักษาเบื้องต้นเร่งด่วนอายุรกรรมกลุ่ม2&3
:forbidden:
Fever (ไข้)
:forbidden:
(การซักประวัติ)
อาการตามระบบต่างๆ อย่างละเอียด
อาการร่วมที่พบ
ระยะเวลาที่เป็น
การรักษาที่ได้รับก่อนหน้านี้ (ยาลดไข้, NSAIDs, Antibiotics)
ลักษณะ/รูปแบบของไข้
โรคประจำตัว/ยาที่ใช้เป็นประจำ
ประวัติเสี่ยงต่อ HIV
ประวัติการเดินทาง, การเข้าป่าถุยน้ำ, การเจ็บป่วยของคนในครอบครัว
ประวัติสัมผัสสัตว์ป่วย
ระยะเวลาเริ่ม ต้นของอาการ
-Sub acute Fever (ไข้ที่เป็นในช่วง 1-3 สัปดาห์)
-Prolonged Fever (ไข้ที่เกิดมานานเกิน 3 สัปดาห์)ไข้ >28.3 C ที่เป็นมาอย่างน้อย 3 สัปดาห์โดยไม่พบสาเหตุ
แม้ว่ารับการตรวจค้นเต็มที่แล้วอย่างน้อย 3 วันไข้เรื้อ รังไม่ทราบสาเหตุ (Fever of unknown origin : UFO)
-Acute Fever (ไข้ที่เกิดภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์)
-Hyperthermia (จากการที่เสีย Thermoregulation เช่น Exercise
แลป
CXR
H/C
U/A, Urine C/S
Sputum exam
CBC
Stool exam, Stool C/S
CT chest, CT whole abdomen
Echocardiography
LN biopsy, Bone marrow Bx
การรักษาพยาบาลขั้นต้นด้านอายุรกรรม
1.)กลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องรีบช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันทีเพื่อรับบริการที่เหมาะสม (39 กลุ่มอาการ)
2.)กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติมต้องปรึกษาแพทย์ในเวลาที่กำหนด คือ 1-7 วัน (28กลุ่มอาการ)
3.)กลุ่มอาการที่ต้องการวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาโรคเบื้องต้น (8 ระบบ)
Exanthematous Fever (ไข้ออกผื่น)
โรคหัด
(Measles) โรคหัดเป็นโรคไข้ออกผื่น (Exanthematous fever) ที่พบบ่อยในเด็กเล็กนับว่าเป็นโรคที่มีความสาคัญมากโรคหนึ่ง
เพราะอาจมีโรคแทรกซ้อนทาให้ถึงเสียชีวิตได้
สาเหตุ
: เกิดจากเชื้อไวรัส Measles ซึ่งอยู่ในตระกูล Paramyxovirus ซึ่งเป็น RNA ไวรัสที่จะพบได้ในจมูก และลำคอของผู้ป่วย
อาการและอาการแสดง
: เริ่มด้วยมีไข้ น้ำมูกไหล ไอ ตาแดง ตาแฉะ และกลัวแสงอาการต่างๆ จะมากขึ้นพร้อมกับไข้สูงขึ้น และจะสูงเต็มที่เมื่อมีผื่นขึ้นในวันที่ 4 ของไข้ลักษณะผื่นนูนแดง maculo-papular ติดกันเป็นปื้นๆ โดยจะขึ้นที่หน้า บริเวณชิดขอบผมแล้วแผ่กระจายไปตามล าตัว แขน ขา เมื่อผื่นแพร่กระจายไปทั่วตัว ซึ่งกินเวลาประมาณ 2-3วัน ไข้ก็จะเริ่มลดลง ผื่นที่ระยะแรกมีสีแดงจะมีสีเข้มขึ้น เป็นสีแดงคล้ำหรือน้ำตาลแดงซึ่งคงอยู่นาน 5-6 วัน กว่าจะจางหายไปหมด กินเวลาประมาณ 2 สัปดาห์บางครั้งจะพบผิวหนังลอกเป็นขุย
Skin rash (ผื่นผิวหนัง)
Macule (ผื่นเรียบ)
:ผื่นราบเกิดจากสีของผิวเปลี่ยนแปลงโดยที่ผิวหนังไม่นูนหรือบุ๋มขอบเขตของผื่นอาจเห็นได้ชัด
หรือไม่ชัดมีขนาดและรูปร่างต่างๆจุดสีแดงขนาดเล็กไม่เกิน1 เซนติเมตรมีลักษณะแบนราบกับผิวหนังคลำไม่สะดุดมือ มักมีรูปร่างกลม เช่น ผื่นของหัด
Papule (ผื่นนูน)
: เป็นตุ่มนูนขึ้นมาบนผิวหนัง มีขนาดต่าง ๆกันเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 1 เซนติเมตร
อาจเกิดจากเซลล์ในชั้น epidermisหรือ dermis แบ่งตัวมากขึ้น มีสารบางอย่างอยู่ในชั้นใต้ผิวหนัง
หรือเซลล์มีการอักเสบจำนวนมากในชั้นผิวหนัง เช่น หูด (Wart)
Maculopapular (ผื่นแดง)
: กลุ่มอาการที่มีการแสดงออกเป็นผื่นนูน ตุ่มผื่นแบนหรือรอยแดง
ที่มีการกระจายบนผิวหนังตามส่วนต่าง ๆทั่วบริเวณของร่างกายอย่างเฉียบพลัน
Chest pain (เจ็บหน้าอก)
อาการเจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (Typical angina)
1.)เจ็บแบบแน่นๆ ตรงกลางหน้าอก เหมือนมีอะไรมาทับ
อาจร้าวไปไหล่ซ้ายมักพบร่วมกับอาการใจสั่นคลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะ เหงื่อออกมาก
2.)เจ็บหน้าอกเวลาออกแรงหรือเครียด
3.)เจ็บหน้าอกลดลงเมื่อหยุดพักหรือได้รับยาไนโตรกลีเซอรีน (ISDN)
การซักประวัติ
:
ลักษณะของอาการเจ็บหน้าอก ความรุนแรง
ระยะเวลาที่มีอาการ
ขณะนั้นทำอะไรอยู่
นั่งพัก/อมยาใต้ลิ้น แล้วดีขึ้นหรือไม่
อาการร่วมอื่นๆ (ใจสั่น , คลื่นไส้อาเจียน, เป็นลมหมดสติ,
ยาที่รับประทานประจำ
แขนขาอ่อนแรง, ปวดแน่นท้อง, เรอเปรี้ยว, ไข้, ไอ)
เคยมีอาการเจ็บหน้าอกแบบนี้มาก่อนหรือไม่
โรคประจำตัว/การรักษาที่ผ่านมา
Lab
CTA pulmonary artery
EGD
Sputum examination
Amylase/Lipase
Echocardiography
Skin lesion
EKG
CXR
Jaundice (ตัวเหลือง, ภาวะเหลือง)
เกิดจากสารหนึ่งในร่างกายที่ชื่อว่า บิลิรูบิน (Bilirubin)ซึ่งอยู่ในกระแสเลือดมากกว่า 2 – 3 mg/dL.
สามารถแบ่งออกเป็นภาวะเหลืองปกติ (Physiologic Jaundice) ในเด็กและภาวะเหลืองผิดปกติ
เนื่องจากมีพยาธิสภาพ (Pathologic Jaundice)โดยภาวะตัวเหลืองจากการอุดตันท่อทางเดินน้ำดีอยู่ในข่าย
ของภาวะเหลืองผิดปกติเนื่องจากมีพยาธิสภาพ
การซักประวัติ
ประวัติโรคตับอักเสบ, ตับแข็ง ของตนเองและคนในครอบครัว
ประวัติการดื่มสุรา
อาการร่วม (ไข้, เบื่ออาหาร, น้ำหนักลด, คันตามตัว, ปัสสาวะเข้มคลำพบก้อนในท้อง ฯลฯ)
ประวัติโรคประจำตัว
ปวดท้องหรือไม่
ประวัติยาที่รับประทาน
ระยะเวลาที่มีอาการเหลือง
ประวัติการได้รับเลือด หรือการบริจาคเลือด
Lab
U/A
Ultrasound upper abdomen
Viral hepatitis profile : HBsAg, Anti HCV Ab, Anti HAV Ab
CT abdomen
CBC
ERCP, EUS
LFT
Tissue biopsy
Anemia (ภาวะซีด)
การที่มีเม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกติทางการแพทย์จะหมายถึง
การที่ระดับค่าฮีโมโกลบินในเลือดต่ำกว่า 13 กรัม /เดซิลิตรในผู้ชายหรือ 12 กรัม / เดซิลิตรในผู้หญิง
ถ้าคิดเป็นค่าฮีมาโตคริตคือความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงต่ำกว่า 39 และ36 เปอร์เซ็นต์ในผู้ชายและผู้หญิง
สาเหตุ
การสร้างเม็ดเลือดแดงน้อยลงซึ่งอาจจะเกิดจากการขาดสารอาหารที่จำเป็นในการสร้างเม็ดเลือดแดง
เช่นขาดธาตุเหล็ก, โฟเลต (folate), วิตามินบี 12,
โรคไขกระดูกฝ่อ (aplasticanemia), โรคที่มีเซลล์มะเร็งในไขกระดูก เช่น มะเร็งเม็ดเลือดขาว(leukemia)
การสูญเสียเม็ดเลือดแดงจากกระแสเลือดได้แก่การเสียเลือดทั้ง
ชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง(ซึ่งชนิดเรื้อรังจะทำให้เกิดการขาดธาตุเหล็ก),
การที่เม็ดเลือดแดงแตกหรือถูกทำลายไปเร็วกว่าปกติ
เช่นโรคที่ร่างกายต่อต้านเม็ดเลือดแดงของตนเอง (โรค autoimmunehemolytic anemia),
กรรมพันธุ์บางชนิด เช่นโรคขาดเอ็นซัยม์ของเม็ดเลือดแดง, โรคธาลัสซีเมีย
Cough (ไอ)
อาการที่ร่างกายหายใจออกสุดทันทีหลังการหายใจเข้าลึกเต็มปอดอาจเกิดจากปฎิกิริยาของร่างกายต่อสิ่งกระตุ้นหรือเกิดจากการตั้งใจไอ
เพื่อขับสิ่งแปลกปลอมออกจากทางเดินหายใจ
การซักประวัติ
ไอมีเสมหะหรือไม่ ถ้าไอมีเสมหะ
มีอาการไข้ร่วมด้วยหรือไม่
เริ่มมีอาการนานเท่าไหร่
อาการที่พบร่วมด้วยมีอะไรบ้าง
ลักษณะอาการไอเป็นอย่างไร ไอเสียงก้อง มีเสียงหวีดร่วมด้วยไม่
ช่วงเวลาไอ ไอเมื่อเอนตัวลงนอน ไอดึกหลังเที่ยงคืน ไอตอนรุ่งเช้า
มีสิ่งกระตุ้นหรือไม่ เช่น อาการเย็น
ทำอย่างไรอาการไอดีขึ้น
ผู้ป่วยสูบบุหรีหรือไม่
มีโรคประจำตัวอะไรบ้าง
ผลกระทบของอาการไอทางจิตสังคมมีหรือไม่ หรือไอจนต้องหยุดงาน
ระยะเวลาเริ่มต้นของอาการ
Acute cough (อาการไอที่เกิดขึ้นไม่เกิน 1 สัปดาห์)
Chronic cough (อาการไอที่เกิดขึ้นนานกว่า 3 สัปดาห์)
Lab
SpO2
CXR
EKG
CBC
Sputum G/M, C/S
Blood Immune : Tb, HIV
Physical Examination
การตรวจบริเวณโพรงจมูก ไซนัส หู และคอ
V/S, BT, RR
การตรวจระบบทางเดินหายใจรวมทั้งปอดและทรวงอกอย่างละเอียด
การตรวจร่างกายเพิ่มเติม ได้แก่ การตรวจระบบหัวใจและหลอดเลือด,
ประเมินภาวะหัวใจล้มเหลวทั้ง ฝั่งซ้ายและฝั่งขวา
ตรวจต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ และรักแร้ อาจบ่งบอกถึงโรงมะเร็ง
ขาบวมข้างเดียวอาจเกิดจากมีลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดดำเป็นอาการนำของกลุ่มอาการหลอดเลือดปอดอุดตัน
ตรวจร่างหาย หากผู้ป่วยผอมมาก อาจพบในผู้ป่วยโรคมะเร็ง, ติดเชื้อHIV หรือวัณโรคปอด