Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
การพยาบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม (Environment)
สิ่งแวดล้อมที่เกิดตามธรรมชาติ (Natural environment)
หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเอง โดยธรรมชาติ มีลักษณะเป็นรูปธรรม เช่น ดิน น้้า อากาศ ป่าไม้ ภูเขา แม่น้้า สัตว์ป่า
สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man-made environment)
หมายถึง สิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์
หรือใช้จัดระเบียบการอยู่ร่วมกันในสังคม
จำแนกตามองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมได้ 4 ประเภท
สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ (Physical environment)
เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ เช่น ดิน หิน น้้า อากาศ ป่าไม้และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น อาคาร
บ้านเรือน ถนน เสื้อผ้า เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
2.สิ่งแวดล้อมด้านเคมี (Chemical environment)
สิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะเป็นสารเคมีที่
อาจอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ อาจเกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้น
สิ่งแวดล้อมด้านชีวภาพ (Biological environment)
สิ่งแวดล้อมที่เป็นสิ่งมีชีวิต เช่น
จุลินทรีย์ พืช สัตว์ มนุษย์
สิ่งแวดล้อมด้านสังคม (Social environment)
สิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะเป็นนามธรรม เช่น จารีตประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา กฎหมาย
โดยสิ่งแวดล้อมจะถูกมอง
ว่าเป็นทรัพยากร (Resources) เพื่อการใช้งานของมนุษย์ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources)
1.1 ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้น (Inexhaustible natural resources)
ประเภทที่คงสภาพเดิมไม่เปลี่ยนแปลง (Immutable) ได้แก่ พลังงานจาก ดวงอาทิตย์ ลม อากาศ
ฝุ่น แม้กาลเวลาจะผ่านไปนานเท่าใดก็ตามสิ่งเหล่านี้ก็ยังคง ไม่เปลี่ยนแปลง
ประเภทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Mutable) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเนื่อง มาจากการใช้ประโยชน์อย่างผิดวิธี เช่น การใช้ที่ดิน การใช้น้้าโดยวิธีการที่ไม่ถูกต้อง
1.2 ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วทดแทนได้ (renewable natural resources)
เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า มนุษย์ ความ
สมบูรณ์ของดิน คุณภาพของน้้า และทัศนียภาพที่สวยงาม ฯลฯ
1.3 ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถน ามาใช้ใหม่ได้ (Recyclable natural resources)
เช่น แร่ธาตุ ได้แก่ เหล็ก ทองแดง อะลูมิเนียม ดีบุกตะกั่ว แก้ว ฯลฯ
1.4 ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้นไป (Exhausting natural resources)
ได้แก่ น้้ามันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน เป็นต้น
กลุ่มทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man-made Resources)
2.1 กลุ่มทรัพยากรชีวกายภาพ (Bio-physical Resources)
เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในการใช้ประโยชน์ของมนุษย์เช่น การเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การประมง การพลังงาน เขื่อน ไปจนถึงทรัพยากรที่เกิดขึ้นเพื่อ
การยกระดับคุณภาพชีวิต เช่น การประปา การสื่อสารโทรคมนาคม การคมนาคม การท่องเที่ยว
2.2 กลุ่มทรัพยากรเศรษฐสังคม (Socio-economic resources)
เช่น วัฒนธรรม ประเพณี
ความเชื่อ ศาสนา กฎหมาย เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง การศึกษา การสาธารณสุข ฯลฯ
อนามัยสิ่งแวดล้อม
เป็นการจัดการและควบคุมสิ่งแวดล้อมที่เป็นหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ เพื่อให้เกิดความสมดุลของระบบนิเวศน์ระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มนุษย์มีความเป็นอยู่ที่ดีทั้งทางร่างกาย จิตใจและสังคม
องค์การอนามัยโลกได้ก้าหนดขอบเขตงานอนามัยสิ่งแวดล้อมไว้เป็นแนวทางให้ประเทศต่างๆ ดังนี้
1) การจัดหาน้้าสะอาดในการอุปโภค บริโภค
2) การควบคุมมลพิษทางน้้า
3) การจัดการเกี่ยวกับขยะมูลฝอยและของเสียที่มีลักษณะเป็นของแข็ง ได้แก่ การรวบรวมหรือจัดเก็บ การขนส่ง และการก้าจัดที่ถูกหลักสุขาภิบาล
4) การควบคุมสัตว์อาร์โทรปอดและสัตว์ฟันแทะ สัตว์อาร์โทรปอด เช่น ยุง แมลงวัน แมลงสาบ เห็บหมัด ไร สัตว์ฟันแทะ เช่น หนู
5) การควบคุมมลพิษของดิน
6) การสุขาภิบาลอาหาร
7) การควบคุมมลพิษทางอากาศ
8) การป้องกันอันตรายจากรังสี
9) อาชีวอนามัย
10) การควบคุมมลพิษทางเสียง
11) ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมใกล้เคียง
12) การผังเมือง เป็นการก้าหนดแนวทางการพัฒนาเมืองในอนาคต
13) งานอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการคมนาคม
14) การป้องกันอุบัติเหตุ อุบัติภัยต่างๆ
15) การสุขาภิบาลของสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สวนสาธารณะ
16) การด้าเนินงานสุขาภิบาลเมื่อเกิดโรคระบาด
สามารถสรุปความส้าคัญของอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้ดังนี้
1) ลดอัตราป่วยและอัตราตายของประชาชน เนื่องจากงานอนามัยสิ่งแวดล้อมจะ ควบคุมไม่ให้ปัจจัยก่อโรคด้านสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุให้เกิดโรค
2) สร้างเสริมสุขภาพของประชาชน ท้าให้ประชาชนได้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี
3) สร้างสุนทรียภาพและความเจริญในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีจะท้าให้ชุมชนสะอาดเรียบร้อยสวยงาม ดูแล้วสบายตา สบายใจ รวมทั้งสามารถส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
4) ส่งเสริมเศรษฐกิจของชุมชน การจัดสิ่งแวดล้อมที่ประสบผลส้าเร็จสามารถลดอัตราการป่วยและอัตราตายของประชาชนได้
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพ
ได้รับเชื้อโรคหรือสิ่งที่ท้าให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ เช่น เชื้อโรค สารพิษ ที่อาจก่อให้ โรคร้ายแรงได้ทั้งระยะเฉียบพลันและระยะเรื้อรัง
ได้รับเชื้อโรคหรือสารพิษที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกรรมพันธุ์
ภูมิต้านทานโรคต่ําลง อันเนื่องมาจากสารพิษและสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม
เกิดความความเดือดร้อนร้าคาญและไม่สะดวกสบายจากการได้รับการ เกวนจากมลพิษ เช่น เสียงดัง กลิ่นเหม็น อากาศมีหมอกควั
โรคต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในพื้นที่เกิดการระบาดขึ้น และแพร่กระจายไปได้อย่าง รวดเร็ว และทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น
เกิดผลเสียต่อสุขภาพจิตจากการอยู่อาศัยในสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรมเป็นมลภาวะ
ของเสียและมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม (Waste and pollution)
ภาวะที่มี สารมลพิษ(pollutants) หรือสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ ปะปนในสิ่งแวดล้อมในระดับที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ หรือเกินขีดมาตรฐานที่มนุษย์จะทนได้
ของแข็ง เช่น กากสารพิษ ฝุ่นละออง ขยะมูลฝอย เศษของเหลือใช้
ของเหลว เช่น ไขมัน น้้ามัน และน้้าเสีย
ก๊าช เช่น อากาศที่ปนเปื้อนด้วยควัน สารพิษ ก๊าซพิษ
พลังงานทางฟิสิกส์ เช่น ความร้อน แสงสว่าง กัมมันตรังสี เสียง ความสั่นสะเทือน
มลพิษทางน้ำ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางน้้า
โรคหรือความเจ็บป่วยที่มีน้้าเป็นสื่อในการแพร่กระจาย (Waterborne disease เป็นสาเหตุให้ โรคอุจจาระร่วง บิด ไทฟอยด์ ตับอักเสบเอ
โรคหรือความเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการขาดแคลนน้้าสะอาด (Water-wat504 diseases) เป็นสาเหตุของโรคติดเชื้อตาม
เยื่อบุตา ผิวหนัง เช่น ริดสีดวงตา หิด แผล ยื่น คันตามผิวหนัง
โรคหรือความเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากเชื้อโรคหรือสัตว์น้าโรคที่มีวงจรชีวิต อาศัยอยู่ในน้้า (Water-
based diseases) ที่ส้าคัญคือ พยาธิใบไม้ในตับ พยาธิใบไม้ในเลือด
โรคหรือความเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากแมลงเป็นพาหะน้าเชื้อโรคที่ต้องอาศัย น้้าในการแพร่พันธุ์
(Water-related insect vectors) พาหะน้าโรคส่วนใหญ่เกิดจากยุง เช่น มาลาเรีย ไข้เลือดออก โรคเท้าช้าง
มลพิษทางอากาศ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ
ฝุ่นละอองขนาดเล็กท้าให้เกิดการระคายเคืองและมีผลให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ หากองค์ ประกอบในฝุ่นเป็นโลหะหนัก เช่น ซิลิกา แอสเบสตอสจะท้าให้เป็นโรคปอดชนิดต่าง ๆ รวมทั้งมะเร็งปอด
ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO3)ผลต่อระบบทางเดินหายใจส่วนล่างท้าให้
เกิดการระคายเคืองในถุงลมปอด ส่วนผลเรื้อรัง ท้าให้หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)ท้าให้ผู้สัมผัสมีอาการระคายเคืองตาและระคายระบบทางเดินหายใจส่วนบนอย่างรุนแรง ส่วนผลเรื้อรังท้าให้เกิดโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง ผู้ป่วยโรคหอบหืดหากได้รับสัมผัสจะมี อาการรุนแรงขึ้น
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)ลดความสามารถของเลือดในการน้า
ออกซิเจนไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ หากได้รับเป็นเวลานานจะท้าให้ร่างกายเกิดภาวะขาดออกซิเจนและเสียชีวิตได้
ขยะและของเสียอันตราย
1.การแพร่กระจายของเชื้อโรคและสัตว์ที่เป็นพาหนะ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน สัตว์เหล่านี้มัก
ก่อให้เกิดโรคที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุข เช่น อุจจาระร่วง อหิวาตกโรค
น้้าเสียจากกองขยะมูลฝอย (Leachate)เช่น น้้าเสียชึมลงสู่แหล่งน้้าใต้ดินจะเกิดปัญหาต่อสุขภาพอนามัยของ
ประชาชนที่ใช้น้้าในการอุปโภค บริโภค หากน้้าเสียไหลลงสู่แหล่งน้้าจะส่งผลกระทบต่อพืชและสัตว์น้้า
ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดมลพิษในอากาศกองขยะมูลฝอยยังก่อให้เกิดปัญหาในระบบทางเดินหายใจ และโรคผิวหนังอื่นๆได้
ก่อความร้าคาญขยะมูลฝอยที่ถูกทิ้งเกลื่อนกลาด หรือกองไว้กลางแจ้งจะท้าให้
ทัศนียภาพขาดความสวยงามเป็นที่น่ารังเกียจแก่ผู้พบเห็น
มลพิษทางดิน
ดินเป็นมลสารที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษ
เมื่อดินเหล่านี้ถูกพัดไปในอากาศหรือแหล่งน้้า จะท้าให้อากาศหรือแหล่งน้้าเกิดการปนเปื้อนสาร
มลพิษตามไปด้วย
ดินเป็นแหล่งรองรับสารพิษ
มีผลท้าให้ความ สามารถของดินที่จะเป็นแหล่งธาตุอาหารลดลง ผลผลิตที่ได้ก็อาจจะลดลง หรือผลผลิตที่ได้อาจไม่เหมาะแก่การบริโภคเนื่องจากมีสารพิษสะสมเกินกว่าระดับปลอดภัยต่อสุขภาพของมนุษย์
ดินเป็นพิษ
เช่น มีการเปลี่ยนแปลงของจุลินทรีย์ในดิน ความสามารถในการย่อยสลายของจุลินทรีย์เปลี่ยนแปลงไป พืชที่ปลูกบนพื้นดินที่เป็นพิษจะมีปัญหาเรื่องคุณภาพของพืช
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลชุมชนในด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
เป็นผู้ให้ความรู้และคำแนะนำ (Educator) บทบาทนี้เป็นบทบาทหลักของพยาบาล ในการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
เป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor) โดยให้คำปรึกษาเมื่อผู้รับบริการมีปัญหาสุขภาพ ซึ่งมีสาเหตุจากสิ่งแวดล้อม หรือวิธีการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ พยาบาล ชุมชนต้องมีความรู้และให้คำปรึกษาได้อย่างถูกต้อง
เป็นผู้ประสานงาน (Coordinator) การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมบางประเภท จ้าเป็นต้องด้าเนินงานร่วมกับบุคลากรหลายฝ่าย พยาบาลชุมชนมีหน้าที่ในการประสานงาน หรือแจ้งข้อมูลกับหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเพื่อจะได้วางแผนด้าเนินการอย่าง เหมาะสมต่อไป
เป็นผู้บริหารจัดการ (Manager) พยาบาลชุมชนที่ปฏิบัติงานในต้าแหน่งหัวหน้างาน
เป็นผู้ดำเนินการวิจัย (Researcher) การที่ได้ปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิดกับผู้รับ บริการ ท้าให้ทราบ
ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพประชาชนที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและ พฤติกรรมสุขภาพประชาชน
เป็นผู้นำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Leader or change agent) พยาบาลชุมชน ควรเป็น
แบบอย่างที่ดีแก่ประชาชนและผู้รับบริการ
Community involvement เป็นผู้ชักน้า กระตุ้น สนับสนุน หรือเป็นสื่อกลาง ประสานงาน จัดประชุม ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาแก้ไขปัญหา หรือตัดสินใจในการกระท้า หรือกิจกรรมใดๆ ที่จะมีผลกระทบต่อชุมชนส่วนรวม “empowering them to act as their own advocates”
Individual and population risk assessment เป็นผู้ประเมินความเสี่ยงของ บุคคล
ครอบครัว และชุมชน
Risk Communication เป็นผู้สื่อสารความเสี่ยง โดยการให้ข้อมูลหรือท้าความ เข้าใจแก่บุคคล
ครอบครัว และชุมชน ถึงปัจจัยอันตรายในสิ่งแวดล้อมที่มีต่อสุขภาพของ มนุษย์