Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ ของรกน้ำคร่ำ และความผิดปกติของทารก…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ
ของรกน้ำคร่ำ และความผิดปกติของทารกในครรภ์
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Intra Uterine Growth Restriction [IUGR])
ทารกที่มีขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์ (small for gestational age: SGA)
แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม
ทารกที่มีขนาดเล็กตามธรรมชาติ (constitutionally small)
2 ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Intra Uterine Growth Restriction: IUGR/ Fetal growth restriction: FGR)
การจำแนกประเภทของ IUGR
ทารกโตช้าในครรภ์แบบได้สัดส่วน (Symmetrical IUGR) ทารกในกลุ่มนี้จะมีการเจริญเติบโตช้าทุกระบบของร่างกาย
ทารกโตช้าในครรภ์แบบไม่ได้สัดส่วน (Asymmetrical IUGR)
ทารกที่มีการเจริญเติบโตช้าแบบไม่ได้สัดส่วน พบได้ร้อยละ 80 ซึ่งทารกจะเจริญเติบโตช้าในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์มีประวัติเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด
สตีตั้งครรภ์เป็นโรคเกี่ยวกับเม็ดเลือดแดงในการจับออกซิเจน
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง (ultrasound)
วัดเส้นรอบท้อง (Abdominal Circumference = AC)
วัดขนาดของศีรษะทารก (Biparietal diameter = BPD)
วัดเส้นรอบศีรษะ (Head circumference = HC)
วัดความยาวของกระดูกต้นขา (femur length = FL)
ปริมาณน้ำคร่ำ (amniotic fluid volume)
เกรดของรก (placenta grading)
สาเหตุ
ด้านมารดา
มารดามีรูปร่างเล็ก
ภาวะขาดสารอาหาร น้ำหนักของมารดาไม่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์
ภาวะโลหิตจางรุนแรง เช่น โรคธาลัสซีเมีย
ด้านทารก
ความพิการแต่กำเนิด ความผิดปกติของโครงสร้าง และอวัยวะของร่างกาย เช่น ทารกไม่มีกะโหลกศีรษะ (anencephalus) ผนังหน้าท้องไม่ปิด (gastroschisis) หรือการไม่มีไตแต่กำเนิด(renal agenesis)
การรักษา
ค้นหาและลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิดอันตราย และภาวะแทรกซ้อนกับทารกในครรภ์ เช่น การซักประวัติของมารดา การตรวจด้วย U/S เพื่อค้นหาความพิการของทารกโดยละเอียด การตรวจโครโมโซม
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำมารดาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร หลีกเลี่ยงการใช้ยาหรือสารเสพติด
แนะนำให้มารดาพักผ่อนมาก ๆ โดยเฉพาะการนอนตะแคงซ้าย ซึ่งจะช่วยให้การไหลเวียนเลือดที่รกดีขึ้น
ระยะคลอด
ควรติดตาม ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
ติดตามประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
หลีกเลี่ยงการให้ยาแก้ปวด เนื่องจากยาจะกดการหายใจของทารกได้
การตั้งครรภ์ที่มีจำนวนทารกมากกว่า 1 คน (multiple pregnancy)
มีความเสี่ยงสูง (high risk pregnancy) พบภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ทั้งต่อมารดาและทารกได้มากกว่าครรภ์ปกติ (ครรภ์เดี่ยว)
ชนิดและสาเหตุการตั้งครรภ์แฝด
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้ (monozygotic twins / identical twins) เป็นแฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่ 1 ใบ และตัวอสุจิ 1 ตัว
การตั้งครรภ์แฝดชนิดนี้ได้แก่
1.1 Diamnionic, dichorionic, monozygotic twins pregnancy
1.2 Diamnionic, monochorionic, monozygotic twins pregnancy
1.3 Monoamnionic, monochorionic, monozygotic twins pregnancy
1.4 Conjoined twins pregnancy
แฝดที่เกิดจากไข่คนละใบ หรือแฝดเทียม (dizygotic twins/ fratemal)
เป็นการตั้งครรภ์แฝดที่เกิดจากไข่ 2 ใบผสมกับอสุจิ 2 ตัว amnion 2 อัน และ chorion 2 อัน มีรก 2 อัน
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์
มีอาการคลื่นไส้อาเจียนมาก เนื่องจากมีฮอร์โมน hCG มากกว่าครรภ์เดี่ยว บางครั้งอาจมีอาการอาเจียนมากจนกลายเป็น hyperemesis gravidarum ได้
มีภาวะโลหิตจางเนื่องจากครรภ์แฝดมีการเพิ่มขึ้นของ blood volume มากกว่าครรภ์เดี่ยวปกติ
การตกเลือดก่อนคลอด เช่น รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด
เกิดภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากตั้งครรภ์พบมากกว่าครรภ์เดี่ยวและมีแนวโน้มเป็นเร็วและรุนแรง
ระยะคลอด
กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวผิดปกติเนื่องจากมีการยืดขยายมากเกินไป
ระยะหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอด พบได้มากกว่าครรภ์เดี่ยวเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดีหรือมีภาวะรกค้าง
ผลต่อทารก
การแท้ง
ทารกตายในครรภ์
ภาวะคลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกขาดออกซิเจน (asphyxia)
Twin-twin transfusion syndrome (TTTS)
ในรายที่เป็น monochoionผ่านจากเส้นเลือดแดงของแฝดผู้ให้ (donor) เข้าสู่แฝดผู้รับ (recipient)
การประเมินหรือการวินิจฉัย
ประวัติการตั้งครรภ์แฝดในครอบครัว
โดยเฉพาะญาติทางฝ่ายผู้หญิง อายุมารดามากในครรภ์
การตรวจพิเศษ
ระดับฮอร์โมน estriol, HCG, HPL สูงกว่าปกติ
การถ่ายภาพรังสีทางหน้าท้อง (radiographic examination
แนวทางการดูแลรักษา
ต้องวินิจฉัยให้ได้เร็วที่สุด (early diagnosis)
ดูแลการเจริญเติบโตของทารกอย่างใกล้ชิด ตรวจหาและวินิจฉัยภาวะ IUGR
หลักการพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
โดยเพิ่มปริมาณอาหารจากความต้องการของสตรีตั้งครรภ์ปกติ 1,000 kcal/day (เท่ากับ 3,500kcal/day)
เฝ้าระวังการเกิดภาวะโลหิตจางอาจให้โฟลิคเสริม เช่น ธาตุเหล็กวันละ 60-90 mg กรดโฟลิควันละ 1 mg
ระยะคลอด
การคลอดทางช่องคลอด ทารกแฝดมีส่วนนำกลุ่มท่าหัว-ท่าหัว หรือท่าหัว-ไม่ใช่ท่าหัว(ก้น-ขวาง)
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง กลุ่มที่ไม่ใช่หัว-หัวหรือไม่ใช่หัว- ไม่ใช่หัว ให้การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องทุกราย
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี โดยให้ oxytocin drug
ป้องกันการติดเชื้อโดยดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาและประเมินการติดเชื้อ
ทารกพิการแต่กำเนิด (congenital anormality)
กลักษณะภายนอกหรือความพิการที่อยู่ในอวัยวะภายใน ความพิการแต่กำเนิดในบางรายสามารถแก้ไขข้อบกพร่องได้ แต่บางรายไม่สามารถดำรงชีวิตได้ตามปกติ
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม ได้แก่ สตรีตั้งครรภ์มีอายุมากกว่า 35 ปี
ความผิดปกติของโครโมโซม เป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของโครโมโซมอาจเป็นทั้งโครโมโซม
โรคที่เกิดจากการกลายพันธุ์ของยีนใดยีนหนึ่ง โรคที่พบบ่อยเช่น ธาลัสซีเมีย, G-6-PD
เกิดจากความผิดปกติของยีนหลายตัวร่วมกับปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม เช่น โรคที่มีความผิดปกติของระบบประสาท neural tube โรคปากแหว่ง เพดานโหว่
สิ่งแวดล้อม
ทำให้เกิดความผิดปกติแก่ทารก ส่วนใหญ่ความพิการจะเกิดในช่วง 3 เดือน แรกของการตั้งครรภ์ เช่น การใช้ยา การติดเชื้อ สภาพของมารดา
ความผิดปกติของทารกสามารถแบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม
Disruption
เป็นผลมาจากปัจจัยภายนอกมาขัดขวางขบวนการเจริญเติบโตของอวัยวะ
เช่น เชื้อโรค สารเคมี ยา การขาดเลือดมาเลี้ยงหรืออุบัติเหตุ
Deformation
ผลมาจากแรงภายนอกทำให้โครงสร้างที่กำลังพัฒนาผิดรูปไป แรงเบียดนี้เป็นแรงมาจากภายนอกตัวทารกในครรภ์
เช่น ความผิดปกติของรูปร่างของมดลูก การตั้งครรภ์แฝด ภาวะน้ำคร่ำน้อย เช่น ภาวะเท้าปุก (club foot)
Malformation
เป็นผลมาจากขบวนการของการพัฒนาหรือขบวนการเจริญเติบโตของอวัยวะ
ได้แก่ ปากแหว่ง เพดานโหว่
Dysplasia
ผลมาจากความผิดปกติของการจัดระเบียบของเซลล์ที่จะเจริญไปเป็นเนื้อเยื่อ
การป้องกัน
การให้คำแนะนำปรึกษาทางพันธุศาสตร์ (Genetic counseling)
ก่อนการตั้งครรภ์ในรายที่มีภาวะเสี่ยงโดยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจเลือดคู่สามีภรรยา เพื่อวิเคราะห์โรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม รวมถึงการทำพงศาวลี (pedigree
จะทำการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด เพื่อค้นหาความพิการแต่กำเนิดตั้งแต่อยู่ในครรภ์
การให้คำปรึกษาภายหลังการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด หากพบว่าทารกพิการเพื่อให้ครอบครัวสามารถเผชิญปัญหาและตัดสินใจ
หลีกเลี่ยงการสัมผัส teratogen เช่น เชื้อหัดเยอรมัน ยาบางชนิด บุหรี่ สารเสพติด เป็นต้น ที่อาจมีผลทำให้ทารกมีความพิการแต่กำเนิดได้
ภาวะจิตสังคมของครอบครัวที่ต้องเผชิญกับภาวะมีบุตรพิการแต่กำเนิด
ระยะตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์มักจะเกิดความเครียดและวิตกกังวลสูงเมื่ออยู่ในระยะที่ต้องตัดสินใจตรวจสอบความผิดปกติของทารกในครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
ผู้คลอดที่รับรู้ว่ามาก่อนว่าทารกในครรภ์มีความพิการหรือมีความผิดปกติเกิดขึ้น มักจะมีความเครียด กลัว วิตกกังวล
ระยะตั้งครรภ์
ครอบครัวอาจจะเข้าสู่ระยะเศร้าโศก แม้ว่าจะทราบหรือรู้ล่วงหน้าว่าทารกที่คลอดออกมาจะมีความพิการก็ตาม ส่วนใหญ่ครอบครัวจะกลับเข้าสู่ภาวะเดิมอีก คือ ช็อค ปฏิเสธ และกลัว
ปัจจัยที่ทำให้ทารกพิการแต่กำเนิด
ปากแหว่งเพดานโหว่
ริมฝีปาก เหงือกส่วนหน้า เพดาน
แข็ง และเพดานอ่อน
โรคปากแหว่ง
บริเวณริมฝีปากเพดานส่วนหน้าแยกจาก
กัน เพดานส่วนหลังจะเจริญสมบูรณ์เมื่อทารกอยู่ในครรภ์มารดาช่วง 4-7 สัปดาห์
โรคเพดานโหว่
บริเวณเพดานส่วนหลังแยกจากกัน ซึ่งเกิดขึ้นได้ระยะทารกอยู่ในครรภ์มารดาช่วง 12 สัปดาห์
ดาวน์ซินโดรม
โครโมโซมเกินไป 1 แท่ง คือโครโมโซมคู่ที่ 21 มี 3 แท่ง
การวินิจฉัย
การตรวจโครโมโซมโดยวิธี chorionic villus เมื่ออายุครรภ์ 9-12 สัปดาห์ หรือการทำamniocentesis เมื่ออายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
การรักษา
การรักษาในปัจจุบันเป็นการรักษาแบบประคับประคองตามอาการ มุ่งเน้นให้เด็กสามารถช่วยตัวเอง
ทารกศีรษะบวมน้ำหรือภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง (Hydrocephalus)
(ventricle) ของสมอง
และ subarachnoid space มากกว่าปกติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ เช่น skull X – ray, Ultrasound
ขณะตั้งครรภ์ครรภ์
รักษาด้วยการใส่ shunt ในครรภ์ ต้องพิจารณาทำในรายอายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
การดูแลทารก
1 more item...
ทารกศีรษะเล็ก (Microcephaly
การเจริญเติบโตของกระดูกกะโหลกศีรษะส่วนใหญ่
ขึ้นกับการเจริญเติบโตของสมอง จึงเป็นสาเหตุให้ศีรษะมีขนาดเล็ก
อาการและอาการแสดง จากลักษณะทั่วไป พบว่า ขนาดของศีรษะเล็กกว่าปกติ หน้าผากเล็กใบหูใหญ่
การรักษา
ไม่สามารถรักษาให้ศีรษะมีขนาดศีรษะเท่ากับปกติ แต่การรักษามุ่งเน้นให้เด็กสามารถมีชีวิตอยู่ได้นานมากขึ้น
ภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (neural tube defects: NTDs)
Open type NTDs คือมีการเปิดของ neural tissue
สาเหตุของการเกิด NTDs
Genetic factors:
95% ของมารดาที่ให้กำเนิดทารก NTD ไม่มีประวัติในครอบครัวมาก่อน
แต่มีหลายหลักฐานที่ระบุว่า NTD มีความเกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางพันธุกรรม
Environmental factors
ปัจจัยภายนอกที่อาจเกี่ยวข้องกับการเกิด NTD มีหลาย
ปัจจัย อาทิ geography, ethnicity, nutrition
Closed type NTDs หรือ spina bifida occulta คือ NTD
เยื่อหุ้มไขสันหลังยื่น (Spina bifida)
ความผิดปกติของท่อประสาทตั้งแต่แรกเกิดจากพัฒนาการที่
ผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง
ชนิดของกระดูกสันหลังโหว่
spin bifida occulta
spina bifida cystica
meningocele
myelomeningocele หรือ meningomyelocele
อาการและอาการแสดง ที่พบว่าทารกมีก้อนสีแดง นุ่มตรงบริเวณช่องต่อระหว่างกระดูกของกระดูกสันหลังหรือบริเวณสะโพก (Sacrum) และบริเวณบั้นเอว (Lumbar)
การรักษา
กระดูกสันหลังโผล่ชนิด spin bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษาแต่ถ้าเป็นชนิด spina bifidacystica มีวิธีการรักษาโดยการผ่าตัดปิดซ่อมแซมรอยโรคภายใน 24-48 ชั่วโมงภายหลังคลอด
ทารกตายในครรภ์ (Dead Fetus in Utero [DFU])
การตายของทารกในระยะแรก (early fetal death)
การตายก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
การตายของทารกในระยะกลาง (intermediate fetal death)
คือการตายระหว่างอายุครรภ์
20-28 สัปดาห์
การตายของทารกในระยะสุดท้าย (late fetal death)
รตายตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์
ขึ้นไป บางครั้งหมายถึงทารกตายคลอด
สาเหตุ
ด้านมารดา
มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์โรคทางอายุรศาสตร์ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน SLE
มารดาอายุมากกว่า 35 ปี
ภาวะทางสูติกรรม
คลอดก่อนกำหนด ปัญหาระหว่างคลอด
ด้านทารก
มีภาวะพิการแต่กำเนิด เช่น ความผิดปกติของโครโมโซม
ทารกมีภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ด้านรก
รกลอกตัวก่อนกำหนด การติดเชื้อในโพรงมดลูก
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติมารดาพบทารกไม่ดิ้นหรือดิ้นน้อยล
การตรวจร่างกาย
น้ำหนักตัวของมารดาคงที่หรือลดลง เต้านมมีขนาดเล็กลง
คลำยอดมดลูกพบว่าไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยการ ultrasound พบ
การเกยกันของกะโหลกศีรษะ (overlapping) เรียกว่า spalding sign ซึ่งจะพบได้ภายหลังที่ทารกเสียชีวิตแล้ว 5 วัน
ทารกไม่มีการเต้นของหัวใจ หรือการเคลื่อนไหวของทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ด้านร่างกาย ถ้าทารกตายในครรภ์เป็นเวลาตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป จะมีโอกาสเกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัว (coagulopathy) หรืออาจเรียกว่าภาวะ “fetal death syndrome”
ด้านจิตใจ ทำให้เกิดความรู้สึกสูญเสีย ตกใจ ซึมเศร้า โทษตัวเอง อาจพบว่ามีการใช้บุหรี่ สุราสารเสพติดหรือยากล่อมประสาทสูงกว่าประชากรทั่วไป
การรักษา
ไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ ขนาดของมดลูกโตไม่เกิน 14 สัปดาห์ ทำการ dilatation andcurettage หรือ suction curettage
ช่วงไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์ เหน็บยา prostaglandin
ไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์ ให้ oxytocin
การพยาบาล
ให้การประคับประคองทางด้านจิตใจ แสดงความเห็นอกเห็นใจ ใช้คำพูดที่สุภาพ และนุ่มนวล
แนะนำให้สามีและครอบครัวให้กำลังใจ ปลอบใจ เพื่อให้มีกำลังใจและการปรับตัวอย่างเหมาะสม
ประเมินความต้องการสัมผัสกับทารกแรกคลอดที่เสียชีวิต
ดูแลให้ได้รับการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ตามแผนการรักษาของแพทย์
ภาวะน้ำคร่ำผิดปกติ (Polydramnios/ Oligohydramnios)
ลักษณะเป็นน้ำ มีความเป็นด่าง ช่วยควบคุมอุณหภูมิ
การจำแนกชนิด
ภาวะน้ำคร่ำมากอย่างเฉียบพลัน (Acute hydramnios)
พบได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 20-24 สัปดาห์ จะมีมีปริมาณน้ำคร่ำเพิ่มขึ้นมากอย่างรวดเร็วภายใน 2-3 วัน
ภาวะน้ำคร่ำมากเรื้อรัง (chronic hydramnios)
พบว่าปริมาณน้ำคร่ำจะค่อยๆเพิ่มขึ้นแต่จะเกิดขึ้นอย่างช้าๆ ส่วนใหญ่จะพบเมื่ออายุครรภ์ 30 สัปดาห์ขึ้นไป
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ชนิดรุนแรงน้อย (mild) คือ วัด AFI ได้ > 24 เซ็นติเมตร
ชนิดรุนแรงปานกลาง (moderate) คือ วัด AFI ได้ > 32 เซ็นติเมตร
ชนิดรุนแรงมาก (severe) คือ วัด AFI ได้ > 44 เซ็นติเมตรขึ้นไป
ผลต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์ เกิดความไม่สุขสบายจากการกดทับของมดลูกที่มีขนาดใหญ่ เช่น อึดอัด
หายใจลำบาก ท้องอืด เนื่องจากมีการขยายตัวของมดลูกมากเกินไป
ผลต่อทารก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพิการ และการคลอดก่อนกำหนด
เกิดภาวะ fetal distress จากการเกิดสายสะดือย้อย (prolapsed umbilical cord)
อาการและอาการแสดง
แน่นอึดอัด หายใจลำบาก เจ็บชายโครง
มีอาการบวมบริเวณเท้า ขา และปากช่องคลอด
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลเพื่อบรรเทาอาการอึดอัดแน่นท้อง จากการขยายตัวของมดลูก
ดูแลให้ได้รับการเจาะดูดน้ำคร่ำออก ตามแผนการรักษาของแพทย์ โดยการประเมินสัญญาณชีพ, FHS, การหดรัดตัวของมดลูก ก่อนและหลังการรักษา
ระยะคลอด
ฟัง FHS ในระยะ latent ทุก 30 นาที และระยะ active ทุก 15 นาที
ให้นอนพักบนเตียง เพื่อป้องกันภาวะน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ระยะหลังคลอด
ให้การพยาบาลเหมือนกับสตรีตั้งครรภ์แฝด โดยเฉพาะดูแลการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)การตั้งครรภ์ที่มีน้ำคร่ำน้อยกว่า 300 มิลลิลิตร
สาเหตุ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด ทำให้เกิดภาวะนี้ได้ 26-35 %
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
มีโอกาสผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้องมากกว่าการตั้งครรภ์ปกติ เนื่องจากทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ fetal distress
ผลต่อทารก
มีโอกาสคลอดก่อนกำหนดถ้าเกิดในอายุครรภ์น้อยทารกมักมีความพิการรุนแรง
ภาวะปอดแฟบ (pulmonary hypoplasia)
การพยาบาล
อธิบายถึงสาเหตุการเกิดภาวะดังกล่าว และแนวทางการรักษา
ดูแลให้ได้รับการใส่สารน้ำเข้าไปในถุงน้ำคร้ำ (amnioinfusion)
รับฟังปัญหา แสดงความเห็นอกเห็นใจ และกระตุ้นให้ระบายความรู้สึก
การรักษา
พิจารณาตามอายุครรภ์หากเกิดภาวะน้ำคร่ำน้อยในช่วงไตรมาสแรก
การเติมน้ำคร่ำ (amnioinfusion)
การดื่มน้ำมากๆ
การวินิจฉัย
การวัดโพรงน้ำคร่ำที่ลึกที่สุดในแนวดิ่ง (maximum ventrical pocket, MVP)
การวัดดัชนีน้ำคร่ำ amniotic fluid index (AFI)