Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา (Mental Retardation หรือIntellectual…
บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
(Mental Retardation หรือIntellectual Disability)
ความหมายของบุคคลบกพร่องทางสติปัญญา
บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องกำหนด
ประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา ๒๕๕๒พ.ศ. ได้ก าหนดหลักเกณฑ์บุคคลที่มีความ
บกพร่องทางสติปัญญาดังนี้ ได้แก่บุคคลที่ข้อจ ากัดอย่างชัดเจนในการปฏิบัติตนFunctioning ในปัจจุบัน ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสติปัญญาต่ าเกณฑ์เฉลี่ยอย่างมีนัยส าคัญ ความจ ากัดของทักษะการปรับตัวอีกอย่างน้อย ๒ จาก๑๐ ทักษะ ได้แก่ การสื่อความหมาย การ ดูแลตนเอง การด ารงชีวิตในบ้าน ทักษะทางสังคม/การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การรู้จัดใช้ทรัพยากรใน ชุมชน การรู้จักควบคุมดูแลตนเอง การน าความรู้มาใช้ในชีวิตประจำวัน การทำงาน การใช้เวลาว่า รักษาสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ทั้งนี้ได้แสดงอาการดังกล่าวก่อนอายุ๑๘ปี
. ระดับความรุนแรงของภาวะบกพร่องทางสติปัญญา (กุลยาวรรณก่อสุ.๒๕๕๓ : ๖)
ความบกพร่องทางสติปัญญา ระดับเล็กน้อยMildIntellectual( Disability) หมายถึง สติปัญญาระดับ๕๐-๗๐
ความบกพร่องทางสติปัญญา ระดับเล็กปานกลางModerate( Intellectual Disability) หมายถึง สติปัญญาระดับ๓๕-๔๙
ความบกพร่องทางสติปัญญา ระดับรุนแรงSevere( Intellectual Disability)
หมายถึง สติปัญญาระดับ๒๐-๓๔
ความบกพร่องทางสติปัญญา ระดับรุนแรงมากProfound( Intellectual Disability) หมายถึง สติปัญญาต่ ๒๐ากว่า
การจำแนกเชาวน์ปัญญา
ไอคิว ระดับเชาวน์ปัญญา
130 ขึ้นไป อัจฉริยะ(Very Superior)
120-129 ฉลาดมาก (Superior)
110-119 ค่อนข้างฉลาดBright( Normal)
90-109 ปานกลาง (Average)
80-89 ปัญญาทึบDull( Normal)
70-79 คาบเส้นปัญญาอ่อนBorderline( )
ต้ำากว่ า70 ปัญญาอ่อนMental( Retardation)
50-69 ปัญญาอ่อนระดับน้อยMild (mental retardation)
20-34 ปัญญาอ่อนระดับรุนแรงSevere( mental retardation)
ต่ ากว่า20 ปัญญาอ่อนระดับรุนแรงมากProfound( mental retardation)
35-49 ปัญญาระดับปานกลางModerate( mental retardation)
แบบคัดกรองบุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ประเมินครั้ งที่ มีดังนี้
ทักษะการสื่อสาร
1.ใช้ภาษาไม่สมวัย
2.ไม่เข้าใจคำสั่ง ไม่สามารถทำตามคำสั่งได้
ทักษะการดูแลตนเอง
3.ไม่สามารถ หรือสามารถดูแลตัวเองในชีวิตประจำวันได้น้อย
รับประทานอาหาร / การอาบน้ า / แปรงฟัน / การแต่งกาย
4.ไม่สามารถทำความสะอาดหลังการขับถ่าย
ทักษะการดำรงชีวิตภายในบ้าน
5.ต้องกระตุ้นในการปฏิบัติกิจวัตรประจ าวันอยู่เสมอ
6.ช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันได้ต่ำกว่าวัย
ทักษะทางสังคม/การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
7.ชอบเล่นกับเด็กที่มีอายุน้อยกว่า หรือไม่สามารถเล่นกับ
8.เล่นเลียนแบบผู้อื่นอย่างไม่เหมาะสมกับวัย
ทักษะการรู้จักใช้ทรัพยากรในชุมชน
9.มีปัญหาด้านพฤติกรรมในการใช้สิ่งของสาธารณะประโยชน์
ทำลายหรือใช้อย่างไม่ระมัดระวัง
10.ไม่รู้จักวิธีการใช้ การจัดเก็บ และการดูแลรักษา ของส่ว
ทักษะการรู้จักดูแลควบคุมตนเอง
11.เอาแต่ใจตนเอง มีอารมณ์โกรธ ฉุนเฉียวบ่อย ๆ
12..ไม่สามารถควบคุมตนเองท าตามสิ่งที่ต้องทำ
ท
ักษะการน าความรู้มาใช้ในชีวิตประจำวัน
13.ลืมง่าย / จำในสิ่งที่เรียนมาแล้วไม่ได้
14.ไม่สามารถน าทักษะที่เรียนรู้ไปแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้
ทักษะการทำงาน
15.ช่วงความสนใจสั้น ไม่สามารถรับผิดชอบงานที่ต้องทำ
16.ทำตามคำสั่งต่อเนื่อง๒คาสั่งขึ้นไปได้ยาก สับสนง่าย
ทักษะการใช้เวลาว่าง
17.สนใจสิ่งรอบตัวน้อย
18.ใช้เวลาว่างแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ทักษะการรักษาสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
19.ดูแลสุขภาพตนเองได้น้อย เช่น ล้างมือไม่เป็น หรือไม่อาหารที่เป็นประโยชน์
20.มีความระมัดระวังเรื่องความปลอดภัยตนเองน้อย
เกณฑ์การพิจารณา
แต่ละทักษะจะต้องมีผลการวิเคราะห์พฤติกรรมทักษะว่าใช่ทั้ง๒ข้อแสดงว่าไม่ผ่านทักษะนั้น และหากว่าพบทักษะการปรับตัวไม่ผ่านตั้งแต่๒ทักษะขึ้นไป แสดงว่ามีแนวโน้มที่จะเป็นบุคคลที่มีความ บกพร่องทางสติปัญญา ควรให้การช่วยเหลือตามความต้องการจ าเป็นพิเศษทางการศึกษาของผู้เรียน และส่งต่อให้แพทย์ตรวจวินิจฉัยต่อไป