Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อม, นางสาวกฤติยาภรณ์ แสนสุข รหัสนักศึกษา…
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม (Environment)
คือ สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวมนุษย์ อาจเป็นสิ่งที่ เป็นรูปธรรม
มองเห็นหรือสัมผัสได้ เช่น มนุษย์ พืช สัตว์
สิ่งแวดล้อมที่เกิดตามธรรมชาติ
สิ่งที่เกิดขึ้นเอง โดย
ธรรมชาติ มีลักษณะเป็นรูปธรรม เช่น ดิน น้ำ
2.สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น
สิ่งก่อสร้าง อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค และ
องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ
ดิน หิน น้้า อากาศ ป่าไม้
สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น อาคาร
เสื้อผ้า เครื่องมือ
2.สิ่งแวดล้อมด้านเคมี
สารเคมีในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซสารเคมีอาจ
ก่อให้เกิดอันตรายได้หากไม่มีการควบคุมหรือน้ามาใช้อย่างไม่เหมาะสม
สิ่งแวดล้อมด้านชีวภาพ
สิ่งแวดล้อมที่เป็นสิ่งมีชีวิต เช่น
จุลินทรีย์ พืช สัตว์ มนุษย์
สิ่งแวดล้อมด้านสังคม
พฤติกรรมและการใช้ชีวิตในสังคมของมนุษย์ เช่น จารีตประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา กฎหมาย
กลุ่มทรัพยากรธรรมชาติ
1.1 ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้น
1) ประเภทที่คงสภาพเดิมไม่เปลี่ยนแปลง
2) ประเภทที่มีการเปลี่ยนแปลง
1.2 ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วทดแทนได้
ป่าไม้ สัตว์ป่า มนุษย์ ความ
สมบูรณ์ของดิน คุณภาพของน้้า และทัศนียภาพที่สวยงาม
1.3 ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนำมาใช้ใหม่ได้
แร่ธาตุ ได้แก่ เหล็ก ทองแดง อะลูมิเนียม ดีบุกตะกั่ว แก้ว
1.4 ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้นไป
น้ำมันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน
กลุ่มทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น
2.1 กลุ่มทรัพยากรชีวกายภาพ
ทรัพยากรทางชีวภาพ กายภาพ มาเป็นวัตถุดิบผ่านกระบวนการผลิตหรือดัดแปลงด้วยเทคโนโลยี จนเกิดเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า
การเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การประมง การพลังงาน เขื่อน
2.2 กลุ่มทรัพยากรเศรษฐสังคม
ทรัพยากรทางชีวภาพกายภาพ มาเป็นวัตถุดิบผ่านกระบวนการผลิตให้เกิดทรัพยากรเศรษฐสังคมขึ้นเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสุขสงบ
เช่น วัฒนธรรม ประเพณี
ความเชื่อ ศาสนา กฎหมาย เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง การศึกษา การสาธารณสุข
อนามัยสิ่งแวดล้อม
ประเมินและควบคุมสิ่งแวดล้อมทุกด้านทั้งกายภาพ เคมี และชีวภาพ รวมถึง พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย
งานอนามัยสิ่งแวดล้อมจึงเป็นงานที่มุ่งเน้นการป้องกันโรคที่เกิด จากสิ่งแวดล้อม โดยใช้วิธีการจัดการและควบคุมสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ทั้งด้าน กายภาพ เคมี ชีวภาพ และสังคม
ดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของตนเองตามความจ้าเป็นและตามความสามารถ
1) การจัดหาน้้าสะอาดในการอุปโภค บริโภค
2) การควบคุมมลพิษทางน้้า
3) การจัดการเกี่ยวกับขยะมูลฝอยและของเสียที่มีลักษณะเป็นของแข็ง ได้แก่ การรวบรวมหรือ
จัดเก็บ การขนส่ง และการก้าจัดที่ถูกหลักสุขาภิบาล
4) การควบคุมสัตว์อาร์โทรปอดและสัตว์ฟันแทะ สัตว์อาร์โทรปอด เช่น ยุง แมลงวัน แมลงสาบ เห็บ
หมัด ไร สัตว์ฟันแทะ เช่น หนู
5) การควบคุมมลพิษของดิน
6) การสุขาภิบาลอาหาร
7) การควบคุมมลพิษทางอากาศ
8) การป้องกันอันตรายจากรังสี
9) อาชีวอนามัย
10) การควบคุมมลพิษทางเสียง
11) ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมใกล้เคียง
12) การผังเมือง
13) งานอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการคมนาคม
14) การป้องกันอุบัติเหตุ อุบัติภัยต่างๆ
15) การสุขาภิบาลของสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สวนสาธารณะ
16) การด้าเนินงานสุขาภิบาลเมื่อเกิดโรคระบาด เหตุฉุกเฉิน ภัยพิบัติ และการอพยพย้ายถิ่น
สรุปความสำคัญของอนามัยสิ่งแวดล้อม
1) ลดอัตราป่วยและอัตราตายของประชาชน
2) สร้างเสริมสุขภาพของประชาชน
3) สร้างสุนทรียภาพและความเจริญในชุมชน
4) ส่งเสริมเศรษฐกิจของชุมชน
ของเสียและมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
ของแข็ง เช่น กากสารพิษ ฝุ่นละออง ขยะมูลฝอย เศษของเหลือใช้
ของเหลว เช่น ไขมัน น้้ามัน และน้้าเสีย
ก๊าช เช่น อากาศที่ปนเปื้อนด้วยควัน สารพิษ ก๊าซพิษ
พลังงานทางฟิสิกส์ เช่น ความร้อน แสงสว่าง กัมมันตรังสี เสียง ความสั่นสะเทือน
มลพิษทางน้ำ
) น้้ำเสียจากชุมชน เกิดจากกิจกรรมการใช้น้าในชีวิตประจ้าวัน การช้าระร่างกาย การขับถ่าย การปรุงอาหาร การซักล้าง น้้าเสียเหล่านี้มักมี และจุลินทรีย์โคลิฟอร์มปนเปื้อนเป็นส่วนใหญ่
2) น้้ำเสียจากอุตสาหกรรม เกิดจากกระบวนการผลิตต่างๆ มักปนเป็น เคมีและโลหะหนัก
3) น้้ำเสียจากเกษตรกรรม มักปนเปื้อนด้วยมูลสัตว์และสารเคมีก้าจัดศัตรูพืช
4) น้้ำเสียจากสถานที่กำจัดมูลฝอย เกิดจากการน้ามูลฝอยไปกองทิ้งไว้ไม่ถูกวิธีเมื่อฝนตกชะลงมาจะ
ท้าให้น้้ำเสียไหลปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้้าผิวดินและน้้าใต้ดิน
5) น้้ำเสียจากแหล่งก้าเนิดอื่นๆ เช่น การคมนาคมขนส่ง การบริการกวาดการล้างถนน
ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางน้้ำ
โรคหรือความเจ็บป่วยที่มีน้้าเป็นสื่อในการแพร่กระจาย
โรคหรือความเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการขาดแคลนน้้ำสะอาด
โรคหรือความเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากเชื้อโรคหรือสัตว์น้ำ
โรคหรือความเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากแมลงเป็นพาหะน้าเชื้อโรคที่ต้องอาศัยน้้ำในการแพร่พันธุ์
มลพิษทางอากาศ
ฝุ่นละออง
เกิดการระคายเคืองและมีผลให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ
ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO3)
ผลต่อระบบทางเดินหายใจส่วนล่างทำให้เกิดการระคายเคืองในถุงลมปอด ส่วนผลเรื้อรัง ท้าให้หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)
ท้าให้เม็ดเลือดแดงแลกเปลี่ยน ออกซิเจนได้น้อยลง ลดความสามารถของเลือดในการนำ O2 ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
ระคายเคืองตาและระคายระบบทางเดินหายใจส่วนบนอย่างรุนแรง
ขยะและของเสียอันตราย
1.การแพร่กระจายของเชื้อโรคและสัตว์ที่เป็นพาหนะ
น้้ำเสียจากกองขยะมูลฝอย
ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดมลพิษในอากาศ
ก่อความรำคาญ
มลพิษทางดิน
ดินเป็นมลสารที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษ
หากส่วนประกอบของดินมีเชื้อโรค สารกำจัดศัตรูพืชหรือสารพิษอื่นๆ เมื่อดินเหล่านี้ถูกพัดไปในอากาศหรือแหล่งน้้า จะท้าให้อากาศหรือแหล่งน้้าเกิดการปนเปื้อนสารมลพิษตามไปด้วย
ดินเป็นแหล่งรองรับสารพิษ
พลาสติก โฟม ก็จะท้าให้เกิดปัญหามลพิษทางดินขึ้น มีผลท้าให้ความ สามารถของดินที่จะเป็นแหล่งธาตุอาหารลดลง ผลผลิตที่ได้ก็อาจจะลดลง หรือผลผลิตที่ได้อาจไม่เหมาะแก่การบริโภคเนื่องจากมีสารพิษสะสมเกินกว่าระดับปลอดภัยต่อสุขภาพของมนุษย์
ดินเป็นพิษ
พืชจะดูดดึงสารพิษบางชนิดไปสะสมไว้ที่ส่วนต่างๆ เมื่อมนุษย์หรือสัตว์นำมาบริโภคก็ จะมีปัญหาด้านสุขภาพปริมาณผลผลิตทางการเกษตรลดลง เนื่องจากสารพิษบางชนิดก่อให้เกิดสภาวะหรือเงื่อนไขที่พืชไม่สามารถดูดธาตุอาหารพืชจากดินได้
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลชุมชนในด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
เป็นผู้ให้ความรู้และคำแนะนำ(Educator)
แนะน้าผู้รับบริการหรือญาติในการ ปรับปรุง แก้ไขพฤติกรรม และจัดสภาพแวดล้อมในบ้านให้ถูกสุขลักษณะได้
เป็นผู้ให้คำปรึกษา(Counselor)
โดยให้คำปรึกษาเมื่อผู้รับบริการมีปัญหาสุขภาพ ซึ่งมีสาเหตุจากสิ่งแวดล้อม หรือวิธีการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
เป็นผู้ประสานงาน(Coordinator)
ประสานงาน หรือแจ้งข้อมูลกับหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเพื่อจะได้วางแผนดำเนินการอย่าง เหมาะสมต่อไป
เป็นผู้บริหารจัดการ (Manager)
สามารถเข้าร่วมใน การกำหนดนโยบายและวางแผน
เป็นผู้ดำเนินการวิจัย (Researcher)
ทำวิจัยในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพ อนามัยที่เกี่ยวข้องกับอนามัยสิ่งแวดล้อม หรือสิ่งแวดล้อมพื้นฐานในชีวิตประจ้าวันของประชาชน
เป็นผู้นำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Leader or change agent)
แบบอย่างที่ดีแก่ประชาชนและผู้รับบริการ โดยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง มีการจัดสภาพแวดล้อมและสถานที่ทำงานให้ถูกสุขลักษณะ
นางสาวกฤติยาภรณ์ แสนสุข
รหัสนักศึกษา 624N46101