Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช - Coggle…
บทที่2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ความหมายของสุขภาพจิต
ในพจนาณุกรม คือ ความไม่มีโรค ความเป็นสุข ความนึกคิดที่เป็นสุข ปราศจากโรค
องค์กรอนมัยโลกให้ความหมายว่า ภาวะความผาสุขซึ่งปัจเจกบุคคลตระหนักรู้ความสามารถของตน สามารถเผชิญความเครียดในชีวิตตามปกติได้ ทำงานได้ มีผลผลิตจากการทำงาน
ลักษณะองค์รวมของสุขภาพจิต แบ่งเป็น 3 มิติ
1.มิติที่เป็นสุขภาพจิตที่เป็นสมบัติภายในบุคคล
1.1 ความสงบผ่อนคลายของจิตใจ การมีสมาธิ ความพอใจในสิ่งต่างๆ
1.2 มีการสำรวจและเข้าใจตนเอง สำรวจจิตใจ ทำความเข้าใจกับความต้องการของตน
1.3 วิธีการมองโลกและเข้าใจความเป็นไปของโลกภายนอก
2.มิติเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมรอบตัวและโลกภายนอก
2.1 ความสามารถรอบตัวเพื่อวสนองความต้องการของตน
2.2 การทำประโยชน?ต่อสังคม
2.3 ความสามารถสร้างสัมพันธภาพกับบุคคล
3.มิติทางสังคมกี่ยวข้องกับกระบวนการทางสังคมและวิธีการดำเนินชีวิต
องค์ประกอบของผู้ที่มีสุขภาพจิตดี
1.ด้านร่างกาน (Physical) มีร่างกายแข็งแรง ดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
2.ด้านอารมณ์ (Emotional) มีอารมณ์แจ่งใส เบิกบาน
3.ด้านสติปัญญาและการรู้คิด (intellectual) ทำหน้าที่ทางสติปัญญารู้คิดที่สร้างสรรค์
ด้านสังคม (social) เคารพนับถือในตนเองมองภาพลกษณ์ของตนในด้ารบวก หรือตรงตามความจริง
5.ด้านจิตวิญญาณ (Spiritual) ทำหน้าที่ของตนเต็มศักยภาพ มีเป้าหมายที่เป็นไปได้
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิต
ปัจจัยที่มีผลด้านชีวภาพ (Biological factoes)
1.1 พันธุกรรม
1.2 กานวิภาคและสรีรวทยาของประสาท
1.3 ชีวิเคมี
1.4 ฮอร์โมน
1.5 สภาพร่างกาย
2.ปัจจัยทางด้านจิตใจ (Psychological factoes)
ทฤษฎีวิเคราะห์
ทฤษฎีสัมธภาพระหว่างบุคคล
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
3.ด้านสังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อง (Social/cultural or Environmental)
ปัจจัยทางครอบครัว การอบรมเลี้ยงดู
1.แบบเผด็จการ
2.แบบปล่อยปะละเลยหรือทอดทิ้ง
3.แบบทะนุถนอมมากเกินไป
4.แบบประชาธิปไตย
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
ปัจจัยทางด้านเศษฐกิจ
ปัจจัยด้านการเมือง
ปัจจัยืางด้านวัฒนธรรมและเชื้อชาติ
ด้านจิตวิญญาณ (Spiritual factoes)
สิ่งที่นับถือหรทอที่พึ่งทางใจ ศาสนา สิ่งที่เลี่ยมใส ศรัทธา
ปรัชญาชีวิตเป็นแนวคิดกับชีวิต เป้าหมายในชีวิตมีครอบครัวเป็นหลัก
ลางสังหรณ์ เป็นความรู้สึกพิเศษเหนือธรรมชาติ รู้สึกว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือเทวดาปกป้อง
ลักษณะสำคัญในเกณฑ์การจำแนกโรคที่ผิดปกติทางจิตใจ
ลักษณะของผู้ที่มีภาวะเสี่ยงและเบี่ยงเบนสุขภาพจิต
1.มีพฤติกรรมแปลกและถูกมองว่าผิดปกติ
2.อาการทางพฤติกรรมที่สัมคมไม่ยอมรับหรือละเมิดกฎเกณฑ์ทางสังคม
3.การรับรู้และแปลคส่มจริงที่ผิดไป
4.บุคคลที่อยู่ในสภาวะตึงเครียดรุนแรง จนเกิดการวิตกกังวล ซึมเศร้า กลัว
5.มีพฤติกรรมที่แสดงถึงการปรับตัวไม่ได้ สิ้นหวัง
มีพฤติกรรมที่อันตราย ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น เช่น กร้าวร้าว ทำร้ายตนเอง
สามารถประเมินจากประชากรที่เป็นกลุ่มเสี่ยง
1.เป็นบุคคลที่มีแนวโน้มทางพันธุกรรมต่อการเจ็บป่วยทางจิต
2.บุคคลที่ด้อยโอกาสในการเข้าถึงระบบสุขภาพ
3.บุคคลที่ขาดดอกาสทางสังคม ยากจน ไร้ที่อยู่
4.บุคคลที่มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในชีวิต เช่น ตั้งครรภ์และเป็ยวัยรุ่น
5.บุคคลที่ใช้สารเสพติด
6.บุคลลที่เป็นเหยื่อของพฤติกรรมรุนแรง
7.ผู้สูงอายุที่ยากจน
เกณฑ์การประเมินลักษณะของผู้ที่มี
ภาวะเสี่ยงและเบี่ยงเบนทางสุขภาพ
1.ความถี่ทางสถิติ
2.มาตรฐานทางสังคมและเวลา
3.พฤติกรรมการปรับตัว
4.ความทุกข์ของแต่ละบุคคล
ระบบการจำแนกทางจิตเวช
1.ระบบ DSM
1.ลักษณะ กลุ่มอาการทางจิตใจหรือพฟฤติกรรมที่เป็นปัญหา
2.บุคคลเกิดคส่ททุกข์ทรมานใจ หรือความบกพร่องในกิจวัตรต่างๆ
3.อาการที่เกิดขึ้นไม่เป็นสิ่งที่สังคมนั้นๆยอมรับว่า เป็นเรื่องปกติ
4.พฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไปจากค่านิยมด้านการเมือง ศาสนา ด้านเพศ
ระบบ ICD
หลักการสัมภาษณ์ประวัติทางจิตเวชและ วิธีการตรวจประเมินสภาพจิตเบื้องต้น
ลักษณะทั่วไป (General appearance)
1.1 ลักษณะภายนอก รูปร่างหน้าตา การแต่งกาย ความสะอาด
1.2 ท่าที การให้ความร่วมมือ เป็นมิตร ไว้วางใจ
1.3 พฤติกรรม การเคลื่อนไหว ท่าเดิน
2.การพูดและกระแสคำพูด (speech and stream of talk )
2.1อัตราการพูด
2.2 จังหวะ
2.3 ความดัง
2.4ความผิดปกติของคำพูด
2.5 กระแสคำพูด
2.6 การไม่เข้าใจความหมายของคำพูด
3.อารมณ์ (Emotion)
3.1 พื้นฐานอารมณ์
อารมณ์ปกติ เศร้า สิ้นหวัง หงุดหงิด กังวล
3.2 การแสดงอารมณ์
เปลี่ยนแปลงได้กว้าง เศร้า เฉย
3.3 ความเหมาะสม
แสดงอารมณ์เหมาะสมกับเรื่องราวของคำพูด
4.การรับรู้(Perception)
4.1 ประสาทหลอน
การรับรู้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ที่ผิดไปจากความเป็นจริง
4.2 การแปลรับสัมผัสผิด
เช่น เห็นสายน้ำเกลือเป็นงู
4.3 ความรู้สึกว่าตนเองไม่ใช่ตนเอง
เช่น มือขวาของเขาไม่ใช่มือขวาของเขา
4.4ความรู้ว่าสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงหรือแปลกไป
5.ความคิด (Though process)
5.1 กระแสความคิด
การใช้ความคิด คิดสะดุด ความเร็ว
ความต่อเนื่องของความคิด
ความผิดปกติของภาษาอื่นเนื่องมาจาดความคิด
5.2 เนื้อหาของความคิด
ความคิดหมกมุ่น
อาการหลงผิด
ความเชื่อว่าความคิด คำพูด การกระทำของผู้อื่นเกี่ยวกับตน
ความเพ้อฝันและความฝัน
5.3ความคิดแบบนามธรรม
ความสามรถในการบอกความฝัน
ให้ความหมายคำพังเพยสุภาษิต
การบอกเล่าเรื่องราวของผู้ป่วย
5.4 สมาธิ
คิดคำนวณเลขได้
การรับรู้สภาวะตนเองและสิ่งแวดล้อม
6.1ความรู้ตัว
6.2 การรู้เวลา สถานที่ บุคคล
6.3 ความจำ
ความสามรถในการรับข้อมูล
ความสามรถในการจำ
6.4 เชาว์ปัญญา
ความรู้ทั่วไป
ข้อมูลจากการซักประวัติและสุขภาพจิต
ความสามารถในการแก้ปัญหาชีวิต
7.การควบคุมอารมณ์และการแสดงออก
อารมณ์ไม่พอใจ โกรธ กร้าวร้าว
การตัดสินใจ
การตัดสินใจในการดำเนินชีวิต
การตัดสินใจในสถานการณ์สมมติ
การรู้หยั่งตนเองและแรงจูงใจ
ยอมรับวาตนป่วยโรคทางจิต
10.การใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม
ใช้เหตุผลในการตัดสินใจเกี่ยวจริยธรรม ความชั่วดี