Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 แนวคิด หลักการ ทฤษฎีการพยาบาลจิตเวช ทฤษฎีทีใช้ทางสุขภาพจิตและการพ…
บทที่ 2 แนวคิด หลักการ ทฤษฎีการพยาบาลจิตเวช
ทฤษฎีทีใช้ทางสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic theory)
แนวคิดหลักของทฤษฎี
ระดับของจิตใจ (Level of mind)
ระดับของจิตใจ (Level of mind)
ระดับจิตกึ่งสำนึก (The subconscious or preconscious level)
ระดับจิตไร้สำนึก (The unconscious level)
โครงสร้างของจิต (The structure of mind)
สัญชาตญาณ(Id)
ตัวแทนแห่งบุคคล (Ego or Self)
มโนธรรม (Superego)
มโนธรรม(Conscience)
อุดมคติแห่งตน (Ego ideal)
สัณชาตญาณ(Instinct)
สัญชาตญาณทางเพศ
(Sexual instinct or Life instinct or Libido)
สัญชาตญาณความก้าวร้าว
(Aggressive instinct or Death instinct or Mortido)
กลไกทางจิต (Defensemechanism)
การยับยั้ง(Suppression)
การเก็บกด(Repression)
การปฏิเสธความจริง(Denial)
การปรับตัวโดยการหาสิ่งอื่นมาแทน (Substitution)
การชดเชย (Compensation)
การทดแทน(Sublimation)
การย้ายอารมณ์(Displacement)
การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง(Rationalization)
องุ่นเปรี้ยว (Sour grape)
มะนาวหวาน (Sweet lemon)
การโยนบาป (Projection)
การโทษตัวเอง(Introjection)
การเลียนแบบ(Identification)
ปฏิกิริยาตรงข้าม(Reaction formation)
การยึดติด(Fixation)
การถดถอย (Regression)
การจินตนาการ (Fantasy)
การถ่ายโทษ(Undoing)
แยกอารมณ์จากการกระทำ(Isolation)
ความกังวลใจ (Anxiety)
Reality anxiety
Neurotic anxiety
Moral anxiety
การเกิดพฤติกรรมแปรปรวน
ตามแนวคิดจิตวเิคราะห์
ผู้ป่วยทางจิตใจอารมณ์ ได้รับประสบการณ์ที่ไม่ดีมาก่อน
ทำให้เกิดความเจ็บปวดทางอารม์
ประสบการณ์ชีวิตที่บาดเจ็บ มีผลทำให้ความคิดที่ขัดแย้ง
กับความต้องการจริง
ความคิดขัดเเย้งกัน ทำให้Ego ปกป้อง
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์กับการบำบัดทางจิตเวช
ความผิดปกติของบุคลิกภาพเกิดจาก Egoไม่สามารถปรับสภาพให้สมดุลระหว่างความต้องการกับการถูกตำหนิโดยนามโนธรรม
ลักษณะผู้มีพยาธิสภาพทางจิต
เลือกเป้าหมายการแสดงออกไม่เหมาะสม
การทำงานของจิตใจแสวงหาความพึงพอใจฝ่ายเดียว
โดยไม่ได้พิจารณาความเป็นจริง
กระบวนการคิด ขาดการไตร่ตรอง
ปล่อยให้จิตไร้สำนึกมากเกินไป
แนวคิดการบำบัด
กการระบายความรู้สึกอย่างเสรี (Free Association)
การวิเคราะห์ความฝัน (Dream interpretation)
การวิเคราะห์ความต่อต้าน
การวิเคราะห์การถ่ายโยงความรู้สึก
(Analysis of transference)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์กับการพยาบาล
เพื่อเพิ่มความตระหนักรู้ของบุคคล
(individual’s awareness)
เพื่ออธิบายความขัดแย้งในจิตใจ(conflicts)
2.ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์
เมื่อนุษย์อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
ควรให้ความสำคัญพฤติกรรมภายนอก
ควรเน้นปัจจุบัน
พฤติกรรมเกิดจากการเรียนรู้
บุคลิกภาาพ จะแสดงออกทุกสถานการณ์
ทฤษฎีบุคลิกภาพ
ตัวแปรทางสิ่งเเวดล้อมเป็นการกำหนดพฤติกรรม
พฤติกรรม
บุคลิกภาพพัฒนาได้จากกการเสริมแรง
ละระงับโดยการลดการเสริมแรง
บุคลิกภาพพัฒนาจากการเรียนรู้
การเลียนแบบมีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพที่เิกดจากกการเสริมแรง ต้องมีการเสริมแรงสม่ำเสมอ
แนวคิดที่สำคัญ
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก(Classical conditioning)
การวางเงื่อนไขแบบลงมือทำ(Operant conditioning)
การเรียนรู้ทางสังคม(Social learning)
ธรรมขาติของการเสริมแรง
รางวัล
การให้สิ่งเร้าทางบวก
การระงับสิ่งเร้าทางลบ
การลงโทษ
ให้สิ่งเร้าทางลบ
งดสิ่งเร้าทางบวก
วิธีการบำบัด
วิธีการบำบัดที่อาศัยการเรียนรู้แบบคลาสสิก
Desensitization
การลดภาวะ (Extinction)
การลงโทษ(Punishment)
3.ทฤษฎีทางชีววิทยา
แนวคิดหลักของทฤษฎีชีวภาพทางการแพทย์
บุคคลมีความแปรปรวนทางด้านอารมณ์และจิตใจ
ความเจ็บป่วยเกิดจากความผิดปกติของสมอง
ลักษณะและอาการเจ็บป่วยสสามารถแยกโรคได้
โรคทางจิตเวขมีการดำเนินโรคที่แน่นอนและพยากรณ์ได้
โรคทางจิตเวชสามารถรักษาแบบทางกายได้
โรคทางจิตเวชมาจากปัจจัยชีวภาพ
สาเหตุความผิดปกติทางจิต
พันธุกรรม(Genetic)
สารสื่อประสาท(Neurotransmitters)
ความผิดปกติโครงสร้างและการทำงานของสมอง
พัฒนาการของเซลล์ประสาท
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางการพยาบาล
พยาบาลควรตระหนักถึงความสำคัญระหว่างกายจิต
เข้าใจปัญหา
แนวคิดอัตถิภาวนิยมและมนุษยนิยม
(Existentialism and Humanism)
ทฤษฎีกลุ่มอัตถิภาวนิยม(Existential Theory)
ความเชื่อเกี่ยวกับมนุษย์
ความผิดปกติทางพฤติกรรม
กระบวนการบำบัด
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม
ทฤษฎีลำดับขั้นตามความตองการของมาสโลว์
(Maslow’s Hierarchy of needs Theory)
มนุษย์มีความต้องการอยู่เสมอและไม่มีที่สิ้นสุด
ความต้องการจะถูกเรียงตามลำดับความสำคัญ
ความต้องการได้รับการตอบสนองแล้ว จะไม่เป็นแรงจูงใจของพฤติกรรมน้ันๆต่อไป
ความต้องการของมนุษย์
ขั้น 1 ความต้องการด้านร่างกาย
ขั้น 2 ความต้องการปลอดภัย
ขั้น 3 ความต้องการความรัก
ขั้น 4 ความต้องการยกย่อง
ขั้น 5 ความต้องการเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลจิตเวช
Stickley and Wright (2014) กล่าวว่า ทฤษฎีมนุษยนิยมเป็นแนวคิดที่มีคุณค่าสำหรับการทำความเข้าใจผู้ป่วย
ทฤษฎีทางการพยาบาล
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพลาว
มโนทัศน์หลักทางการพยาบาล
คน
สิ่งแวดล้อม
สุขภาพ
การพยาบาล
บทบาทพยาบาลในเเต่ละระยะ
คนแปลกหน้า
ผู้ให้การสนับสนุน
ครู
ผู้นำ
ผู้ทดแทน
ผู้ให้คำปรึกษา
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม
มโนทัศน์หลักในทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม
ทฤษฎีการดูแลตนเอง(The theory of self - care)
การดูแลตนเอง(Self – care: SC)
ความสามารถในการดูแลตนเอง
(Self – care agency: SCA)
ความต้องการดูแลตนเองทั้งหมด
(Therapeutic self – care demand: TSCD)
ทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเอง (The theory of self – care deficit)
ทฤษฎีระบบการพยาบาล (The theory of nursing system)
การทดแทนทั้งหมด
(Wholly compensatory nursing system)
ทดแทนบางส่วน
(Partly compensatory nursing system)
ระบบสนับสนุนให้ความรู้
(Educative supportive nursing system)
วิธีการให้ความช่วยเหลือตามทฤษฎีการดูแลตนเอง
การกระทำให้หรือกระทำแทน (Acting for or doing for)
การชี้แนะให้แนวทาง(Guiding another)
การสนับสนุน(Supporting another)
การสอน (Teaching)
การจัดสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีการปรับตัวของรอยด์(Roy’ s Adaptation model)
สิ่งเร้า(Stimuli)
สิ่งเร้าตรง(Focal stimuli)
สิ่งเร้าร่วม(Contextual stimuli)
สิ่งเร้าแฝง (Residual stimuli)
ความสามารถในการปรับตัว(Adaptive level)
ระดับปกติ(Integrated level)
ระดมชดเชย(Compensatory level)
ระดับเสีย (Compromised level)
การปรับตัว(Adaptation)
ปรับตัวสำเร็จ(Adaptive response)
การปรับตัวไม่มีประสิทธิภาพ(Ineffective response)
กระบวนการเผชิญปัญหา(Coping process)
กลไกการควบคุม(Regulator subsystem)
กลไกการคิดรู้(Cognator subsystem)
พฤติกรรมการปรับตัว
การปรับตัวทางร่างกาย(Physiologic model)
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์(Self – concept model)
ทางร่างกาย
ส่วนบุคคล
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่(Role function model
การปรับตัวด้านพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(Interdependence model)
การประยุกต์ใช้ทฤษฎ๊ทางการพยาบาลในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ทฤษฎีการพยาบาลของโอเร็มOrem’s self-care theory) เน้นที่ความพร่องในการดูแลตนเอง
ทฤษฎีสัมพันฑภาพระหว่่างบุคคลของเพบพราว (Peplau’s theory) เน้นสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย(Roy’s Adaptation Theory พยาบาลคววรประเมินพฤติกรรมของผู้ป่วย และวางแผนกการดูแลผู้ป่วยทั้ง 4 มิติ