Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 โลหิตหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
บทที่ 10
โลหิตหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะเลือดออกผิดปกติ (Bleeding Disorders)
การซักประวัติ
อายุที่เริ่มมีอาการ เพื่อช่วยแยกภาวะเลือดออกเป็นแต่กําเนิด หรือเป็นภายหลัง
2.ประวัติสมาชิกในครอบครัวที่มีภาวะเลือดออกง่ายโดยเฉพาะ hemophilia
ประวัติเลือดออกง่ายที่มีความสําคัญทางคลินิก เช่น เกิดขึ้นเองโดยไม่ได้รับการกระแทก หรือเกิดขึ้นไม่ได้สัดส่วนกับความรุนแรง เลือดออกหลายตําแหน่ง
การใช้ยา ที่สําคัญได้แก่ ยาต้านเกล็ดเลือด ยาต้านลิ่มเลือด
อาการอื่นๆ ร่วมกับอาการเลือดออกง่าย เช่น ไข้ ซีด คลําก้อนได้ปวดกระดูกหรือปวดข้อ น้ําหนักลด
โรคประจําตัว
Differential diagnosis
scurvy
ลักษณะทางคลินิก
เหงือกบวมและเลือดออกได้ง่าย
Perifollicular hemorrhages, Purpura
ผลการตรวจ ระดับวิตามินซีในพลาสมาน้อยกว่า 0.1-0.2 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
การรักษา Vit.C 800-1000 mg/day
หากไม่ดีขึ้นใน 2 สัปดาห์ ควรส่งต่อเพื่อวินิจฉัยเพิ่มเติม
Hemophilia A, B
ลักษณะทางคลินิก เป็นรอยจ้ำเลือดตามผิวหนังได้ง่าย hemarthrosis, deep hematoma, เลือดออกหลังมีบาดแผลหรือผ่าตัด
ผลการตรวจ platelet ปกติ APTT ยาวPT, TT ปกติ
การรักษา Hemophilia
A- CryoprecipitateHemophilia
B- Fresh frozen plasma (FFP)
หากสงสัยควรส่งต่อ หากมีเลือดออกควรทำการห้ามเลือดตามหลักการปฐมพยาบาล
Liver disease
ลักษณะทางคลินิก Bruising,
Spider telangiectasia, generalized hemorrhage
ผลการตรวจ Platelet ปกติหรือต่ำAPTT, PT ยาวTT ปกติหรือยาว
การรักษา FFP platelet transfusion
ถ้ามี platelet ต่ำ
Acquired platelet dysfunction with eosinophilia
(APDE)
ลักษณะทางคลินิก Spontaneous bruising, ecchymosis, mucous membrane bleeding
ผลการตรวจ BT ยาวAPTT, PT, TT
ปกติ Eosinophil สูง
การรักษา ให้ยาถ่ายพยาธิ และรักษาตามอาการ
platelet transfusion ถ้ามีเลือดออกมาก
Immune thrombocytopenic purpura
ผลการตรวจ Platelet ต่ำ
การรักษา oral prednisone 2 มก./กก./วัน 2 สัปดาห์
ถ้าเลือดออกมากอาจให้ IV methylprednisolone 30 มก./กก./วัน 3 วัน หรือ IVIG 1 ก./กก./วัน 2 วัน
ลักษณะทางคลินิก Petechiae, small ecchymoses, mucous membrane bleeding
Disseminated intravascular coagulation (DIC)
ลักษณะทางคลินิก ไข้ petechiae และ purpura เลือดซึมจากบาดแผล หรือรอยเจาะเลือด เลือดออกหลายตำแหน่ง Multiorgan failure พบโรคที่เป็นสาเหตุเช่น โรคติดเชื้อ
ผลการตรวจ platelet ต่ำAPTT, PT, TT ยาว
การรักษา รักษาโรคที่เป็นสาเหตุ FFP platelet concentrate cryoprecipitate
ภาวะซีดหรือโลหิตจาง (Anemia)
การซักประวัติ
ประวัติเพื่อแยกโรคอื่นจากอาการที่เป็นผลจากภาวะโลหิตจาง
ประวัติเกี่ยวเนื่องกับการเสียเลือด เช่น ถ่ายดำ อาเจียนเป็นเลือด ประวัติอุบัติเหตุ การผ่าตัด ประวัติระดู อาการของภาวะ hypovolemia
ประวัติเกี่ยวกับการทำลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้น เช่น ดีซ่าน ปัสสาวะสีเข้ม ปัสสาวะสีดำ
ประวัติเกี่ยวกับไขกระดูกทำงานผิดปกติ เช่น เลือดออกผิดปกติ ไข้ ก้อนตามตัว น้ำหนักลด และปวดกระดูก
ประวัติการใช้ยา
การตรวจร่างกาย
ความรุนแรงของภาวะโลหิตจาง ดูสีของเยื่อบุต่างๆเช่น conjunctiva ริมฝีปาก และผิวหนัง
อาการแสดงของเลือดออกตามผิวหนังหรือเยื่อบุ ตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลืองโต ไข้ ปวดกระดูกเมื่อกด
ภาวะเลือดออก ได้แก่ ความดันโลหิต ชีพจร
ลิ้นเลี่ยน ในภาวะโลหิตจางจากการขาดเหล็ก
malar rash, ข้ออักเสบ ใน AIHA
thalassemia faces
gum hypertrophy ใน acute leukemia
LAB
Complete blood count (CBC) ดูค่า Hb, Hct, red cell indices
MCV ต่ำ พบในกลุ่ม microcytic anemia ให้คิดถึง Iron deficiency
และthalassemia
MCHC ค่าที่ต่ำพบใน iron deficiency anemia
Blood smear เช่น hypochromia (ติดสีจางกว่าปกติ) ซึ่งพบได้ใน iron deficiency anemia และ thalassemia
Coombs’ test ส่งตรวจในรายที่อาการคลินิกสงสัย hemolytic anemia เช่น ซีด เหลือง ม้ามโต
การตรวจหาสาเหตุอื่นที่ทำให้ซีด (underlying cause of anemia) เช่นตรวจ BUN, creatinine ในคนไข้ซีดที่สาเหตุจากไตวาย
Differential diagnosis
Iron deficiency anemia
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ใจสั่น หน้ามืดเป็นลมบ่อย
ตรวจร่างกาย: Pale conjunctiva, Glossitis, Koilonychias
FeSO4 1 tab tid
แนะนำอาหารที่มีธาตุเหล็ก
พิจารณาส่งต่อเพื่อตรวจหาสาเหตุและรับการรักษาต่อ เช่น occult blood
Megaloblastic anemia
ปากเปื่อย ลิ้นแดงอักเสบ ท้องเดิน น้ำหนักลดลง และมีอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง เช่น เฉื่อยชา ขี้ลืม ใจสั่น เป็นลม หน้ามืด
macrocytic anemia,
MCV > 100 fl.
RDW ปกติ
Folic acid 1 tab tid
แนะนำอาหารที่มี Vit. B12 และโฟเลต
Vit. B1-6-12 or Vit. B complex 1 tab bid or tid
Aplastic anemia
ซีด มีจุดและจ้ำเลือดตามตัว เลือดออกผิดปกติหรือภาวะติดเชื้อ
Refer
การพยาบาลเบื้องต้นในภาวะเลือดออก
G6PD deficiency
ไข้สูง หนาวสั่น ซีดเหลือง อ่อนเพลีย ปัสสาวะสีคล้ายน้ำปลาหรือโคล่า อาการมักเกิดขึ้นทันทีหลังเป็นโรคติดเชื้อ หรือหลังทานยาบาลชนิด หรือกินถั่วปากอ้า
Hemoglobinuria, การตรวจระดับเอ็นไซม์ G6PD ในเม็ดเลือดแดง, blood smear
Refer ภายใน 24 ชม.
รักษาตามอาการ ถ้าซีดต้องให้เลือด
Autoimmune hemolytic anemia (AIHA)
มีไข้ ซีด เพลีย เวียนศีรษะ เหนื่อยง่าย ในรายที่รุนแรงอาจจะมีอาการของหัวใจวายเลือดคั่ง (congestive heart failure) อาจพบตับและม้ามโตได้
ผลการตรวจ leukocytosis neutrophilia
การรักษา
Refer เพื่อวินิจฉัยเพิ่มเติม (Coombs’ test, Blood smear)
Chest pain
การซักประวัติ
อาการเจ็บหน้าอก
Location
Onset
Duration
Character
Radiation
Associated symptoms
Factors: exacerbating/ relieving
Progression
อาการร่วมอื่นๆ
ประวัติโรคประจำตัว
การตรวจร่างกาย
ความดันโลหิตต่ำ จังหวะการเต้นของหัวใจ และการฟังเสียงหายใจผิดปกติ
EKG 12 leads
Cardiac enzyme
Echocardiogram
X-ray
Differential diagnosis
Myocardial
Infarction
เจ็บปวดเหมือนถูกบีบรัดที่บริเวณตรงกลางหรือด้านซ้ายของหน้าอกขึ้นมาทันที ร้าวไปที่ไหล่ซ้าย มักเจ็บมากกว่า 30 นาที แม้จะนอนพักอาการก็ไม่ทุเลาลง นอกจากนี้ ผู้ป่วยจะเหงื่อออก คลื่นไส้ หายใจไม่สุด หรือรู้สึกอ่อนแรงอย่างรุนแรงร่วมด้วย
EKG: ST segment elevation/
depression
หากหมดสติให้การดูแลตามภาวะฉุกเฉิน
Isordil 5 mg อมใต้ลิ้น
-Thrombolytic therapy (ASA 1 tab เคี้ยวทันที จากนั้น 1 tab oral OD pc.)
Cardiac biomarkers
Ischemic heart disease/ Angina Pectoris
เจ็บหน้าอกแบบบีบรัด แน่นจุกกลางหน้าอก/หน้าอกซ้าย ร้าวไปที่ไหล่ซ้าย เจ็บไม่เกิน 15 นาที มักมีอาการตอนทำกิจกรรม/ออกแรง/เครียด หายใจไม่อิ่ม ไม่โล่ง หัวใจเต้นเร็ว ซีด อ่อนเพลีย
ส่งตรวจเพิ่มเติม
ECG,echocardiography, exercise stress test
Nitroglycerin or Isordil 1 tab อมใต้ลิ้น ซ้ำได้ทุก 5 นาที จนครบ 3 เม็ด ถ้าอาการไม่ดีขึ้นควรส่งต่อ
ส่งต่อเพื่อวินิจฉัยเพิ่มเติม
Congestive heart failure
หัวใจเต้นเร็ว ชีพจรไม่สม่ำเสมอ นอนราบไม่ได้ (Orthopnea) ผิวหนังเย็นและชื้น กระสับกระส่าย สับสน หายใจเหนื่อย BP ต่ำ เท้าบวม ตับ ม้ามโต
Pulmonary edema, cheyn-stokes breathing, engorged and elevated neck vein, peripheral edema
ส่งต่อเพื่อรับการรักษา
Pleural effusion
เหนื่อย อาการเจ็บหน้าอกมักจะเจ็บแปล๊บๆ เป็นมากขึ้นเวลาหายใจเข้าลึกๆ ไอหรือจาม เป็นบริเวณชายโครงบริเวณที่เยื่อหุ้มปอดอักเสบ อาจร้าวไปไหล่ นอนราบไม่ได้เหนื่อยหอบเวลากลางคืนเป็นช่วงๆ (paroxysmal nocturnal dyspnea)
bronchial breath sound, dullness on percussion
ส่งต่อเพื่อวินิจฉัยเพิ่มเติม (X-ray, เจาะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด)