Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา - Coggle Diagram
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา
กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
ความหมายของกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
การประกันคุณภาพการศึกษาหมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุม ตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น
ธีรเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ข้อที่ 1ให้ยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553
การดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและภายนอกไม่สัมพันธ์กัน
เป็นการสร้างภาระแก่สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษา
ข้อที่ 2
การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา
สำนักงาน หมายถึง สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
ข้อที่ 3
หน่วยงานต้นสังกัด
รวบรวมและสังเคราะห์ SAR สถานศึกษา
ติดตามการดำเนินงานปรับปรุงและพัฒนา
ให้ความร่วมมือกับ สมศ.
ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ แนะนำ
สถานศึกษา
ประเมินผลและตรวจสอบ
ติดตามผลการดำเนินการ
ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ฯ
จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จัดทำ/จัดส่งรายงานการประเมิน ฯ
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษา พ.ศ. 2561
มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย พ.ศ. 2561
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ
3.ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์
4.จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอ
5.ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
6.มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
2.จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน
1.มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
2.สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข
3.จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย
1.จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ
4.ประเมินพัฒนาเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
3.มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
2.มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้
1.ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
4.มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้
มาตรฐานการศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนย์การศึกษาพิเศษ พ.ศ. 2561
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
3.ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
4.พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
2.มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
5.จัดสถานแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
1.มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
6.จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
4.ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างมีระบบ และนำเสนอผลมาพัฒนาผู้เรียน
3.มีการบริหารจัดการเรียนเชิงบวก
2.ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
5.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
1.จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.ผลการพัฒนาผู้เรียน
2.คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
1.มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
2.มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
3.ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
4.พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
5.จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
6.จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
4.ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
2.ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
5.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
1.จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
3.มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
4.มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2.มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
5.มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
1.มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ
6.มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
2.ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
3.การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
1.การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
4.สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
นโยบายการปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา
ลดการจัดทำเอกสารเพื่อการประเมิน
ปรับปรุงกระบวนการประเมินที่สร้างภาระแก่สถานศึกษา
ลดภาระการประเมินที่ยุ่งยากกับสถานศึกษา
ปรับมาตรฐานผู้ประเมินให้ได้มาตรฐาน
ปรับจำนวนมาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่สะท้อนคุณภาพ
การเปรียบเทียบมาตรฐานการศึกษา
มาตรฐาน พ.ศ. 2559
ขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2559)
4 มฐ. 18 ประเด็นการพิจารณา
ศูนย์การศึกษาพิเศษ (พ.ศ. 2560)
4 มฐ. 20 ประเด็นการพิจารณา
ปฐมวัย (พ.ศ. 2554)
11 มฐ. 51 ตัวบ่งชี้
มาตรฐาน พ.ศ. 2561
ขั้นพื้นฐาน
3 มฐ. 21 ประเด็นการพิจารณา
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
3 มฐ. 15 ประเด็นการพิจารณา
ปฐมวัย
3 มฐ. 14 ประเด็นการพิจารณา
กระบวนการจัดทำมาตรฐานการศึกษาของชาติ
4.การเสนอร่าง ทบทวน และเสนอมาตรฐานการศึกษาของชาติ
5.การประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อร่าง มาตรฐานการศึกษาของชาติ
3.การสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของคนไทยในอนาคต
6.การยกร่างมาตรฐานการศึกษาของชาติ
2.การประชุมรับฟังความคิดเห็นทุกภาคส่วน
7.การติดตามผลการดําเนินงานและประเมินผลมาตรฐานการศึกษาของชาติ
1.การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 49 ให้มี สมศ. มีฐานะเป็น (องค์การมหาชน) ทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกและทำการประเมินผลการจัดการศึกษา
เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา
คำนึงถึงความมุ่งหมายและหลักการ (หมวด 1)
แนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ (หมวด 4)
มาตรา 50 หน้าที่ของสถานศึกษาในการให้ความร่วมมือ (อย่างเต็มใจ) กับ สมศ. ทำการประเมินคุณภาพภายนอก
มาตรา 48 หน้าที่ในการจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตรา 51 ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาที่ไม่ได้ มาตรฐานที่กำหนด ให้ สมศ. จัดทำข้อเสนอแนะ และการปรับปรุงแก้ไข หากมิได้ดำเนินการ ให้ สมศ. รายงาน กพฐ. / กอศ. / กกอ.
มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย
ระบบการประกันคุณภาพภายใน
ระบบการประกันคุณภาพภายนอก