Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหืด (Asthma) - Coggle Diagram
โรคหืด (Asthma)
การพยาบาล
-
ประเมินลักษณะการหายใจ ชีพจร สีเล็บ เยื่อบุตาและผิวหนังว่ามีสีเขียวหรือไม่ แสดงถึงภาวะการขาดออกซิเจนในส่วนปลาย
-
-
-
-
-
-
-
การรักษา
ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้นเป้าหมายของการรักษา คือควบคุมอาการให้เป็นปกติได้นานที่สุด ให้อาการสงบ และให้ผู้ป่วยมีชีวิตเป็นปกติสุข ด้วยการมีสมรรถภาพปอดใกล้เคียงปกติมากที่สุด
ยาที่ใช้ควบคุมโรคหืด (Controllers) ต้องใช้เป็นประจำเพื่อการรักษาอาการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ยาที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดคือยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด (Inhaled Corticosteroid) และยังมียากลุ่มอื่น ๆ ที่สามารถใช้ได้ เช่น ยาต้านลิวโคไทรอีน (Leukotriene Modifier Antagonist) เป็นต้น
ยาที่ใช้บรรเทาอาการโรคหืด (Relievers)
ใช้เพื่อบรรเทาอาการหอบ จะใช้ยากลุ่มนี้เฉพาะเมื่อมีอาการ ได้แก่ ยาพ่นขยายหลอดลมชนิดเบต้า 2 (Beta2-agonists) มีผลให้กล้ามเนื้อเรียบในหลอดลมคลายตัว หากผู้ป่วยมีการใช้ยาพ่นชนิดบรรเทาอาการบ่อยครั้งหรือเป็นประจำ จะเป็นข้อบ่งชี้ว่ามีอาการเรื้อรังและการควบคุมอาการนั้นอาจไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร
สาเหตุ
การอักเสบเรื้อรังของหลอดลม มีผลทำใหัหลอดลมของผู้ป่วย มีปฎิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้หรือสิ่งแวดล้อมมากกว่าคนปกติ
-
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอดก่อนและหลังให้ยาขยายหลอดลมถ้า FEV1 เพิ่มขึ้น12%และมากกว่า 200มล แสดงว่ามี Reversible airway obstruction
-
พยาธิสภาพ
หลอดลมของผู้ป่วยมักไวต่อสารกระตุ้น (bronchial hyperresponsiveness) เมื่อสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้จะเกิดการอักเสบในหลอดลม สารก่อภูมิแพ้เหล่านี้จะกระตุ้น T และ B lymphocyteให้ผลิตสาร interleukin-3 และ 4เพื่อกลับไปกระตุ้นให้ B lymphocyte ผลิต IgE มาตอบสนองต่อตัวกระตุ้น หลังจากนั้น IgE จะไปกระตุ้น mast cell,macrophages, eosinophils, neutrophils และ lymphocytes ที่ผนังหลอดลมให้หลั่งสารอักเสบออกมาที่ผนังหลอดลมจนเกิดการเปลี่ยนแปลงของหลอดลมโดยพบมี epithelial cell ของผนังหลอดลมลอกหลุด มีการสร้างสารเมือกมากขึ้นในหลอดลม ส่วน basement membrane ของผนังหลอดลมมีการหนาตัวขึ้น และเซลล์กล้ามเนื้อหลอดลมเพิ่มจำนวนมากขึ้น