Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาหารสำหรับผู้ป่วยเฉพาะโรค, ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง : ไม่ควรให้นมมาก,…
อาหารสำหรับผู้ป่วยเฉพาะโรค
โรคเบาหวาน
ควรรับประทานอาหารหลากหลายชนิด เพื่อให้ได้สารอาหารครบถ้วน
กลุ่มที่ 1
อาหารจำพวกข้าว รับประทานได้เหมือนคนปกติ
ควรเป็น complex carbohydrate เช่น ธัญพืช ถั่วเมล็ดแห้ง
คาร์โบ 15 g. โปรตีน 3 g. พลังงาน 80 Kcal
รับประทานได้วันละ 2-4 ส่วน
กลุ่มที่ 2
ควรรับประทานผักให้มากขึ้นในทุกมื้ออาหาร
คาร์โบ 5 g. โปรตีน 2 g. พลังงาน 25 Kcal
ใยอาหารจะช่วยลดการดูดซึมน้ำตาลและไขมันในอาหาร
ควรรับประทานผักใบเขียวสดหรือสุก
ควรรับประทานวันละ 2-3 ถ้วยตวง
กลุ่มที่ 3
ควรรรับประทานผลไม้ 1 ชนิดต่อมื้ออาหาร
ควรหลีกเลี่ยงผลไม้ที่มีรสหวานจัด เช่น ทุเรียน ขนุน ลำไย
กลุ่มที่รับประทานได้คือ แอปเปิ้ล ชมพู่ แตงโม มะละกอสุก ส้ม
ควรรับประทานวันละ 2-3 ครั้งหลังอาหาร
คาร์โบ 15 g. พลังงาน 60 Kcal
กลุ่มที่ 4
โปรตีน 7 g. ไขมัน 3 g. พลังงาน 55 Kcal
เน้นโปรตีนเป็นหลัก โดยเฉพาะเนื้อปลา
หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ติดมัน หนังสัตว์
กลุ่มที่ 5
ไขมัน 5 g. พลังงาน 45 Kcal
ควรเลือกน้ำมันพืช เพราะไม่มีคอเลสเตอรอล
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารทอด อาหารที่มีกะทิเป็นประจำ
กลุ่มที่ 6
โปรตีน 8 g. คาร์โบ 12 g.
ควรดื่มนมพร่องมันเนย นมไม่มีไขมัน
หลีกเลี่ยงนมปรุงแต่งรส โยเกิร์ตชนิดครีมปรุงต่งรส นมเปรี้ยวพร้อมดื่ม
โรคหัวใจ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง
ไขมันสัตว์ หนังสัตว์ เครื่องใน ตับ ไต สมอง
อาหารที่ปรุงด้วยกะทิ
อาหารแปรรูป เช่น กุนเชียง หมูยอ เบคอน
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง
เครื่องในสัตว์ ไข่แดง อาหารทะเล
หลีกเลี่ยงอาหารทอด และผลิตภัณฑ์เบเกอรี่
ปาท่องโก๋ พาย คุกกี้
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำจากไข่แดง และไขมันอิ่มตัว
ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง
ใช้น้ำมันที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว
น้ำมันรำข้าว
งดน้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม
ควรดื่มนมพร่องมันเนย หรือนมไม่มีไขมัน
ลดการกินอาหารเค็ม และอาหารที่มีปริมาณโซเดียมสูง
เกลือ น้ำปลาซีอิ๊ว ผงปรุงรส ซุปก้อน น้ำซอสต่างๆ
อาหารแปรรูป เช่น ปลาเค็ม กุนเชียง หมูยอ หมูแผ่น
กินผัก ผลไม้เป็นประจำ เพื่อช่วยขัดขวางการดูดซึมไขมัน
โรคความดันโลหิตสูง
รับประทานอาหารที่ไม่เค็ม / จำกัดโซเดียม
คาร์โบไฮเดรต
ข้าวซ้อมมือ เส้นก๋วยเตี๋ยว บะหมี่ วุ้นเส้น ขนมจีน มักกะโรนี ขนมปังโฮลวีต ธัญพืช เผือก
หลีกเลี่ยง : ข้าวเหนียวมูลกะทิ ขนมปังปอนด์ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป หมี่สั่ว
โปรตีน
เนื้อสัตว์ : เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน เนื้อปลาทั้งปลาน้ำจืดและปลาทะเล
ไข่ : ไข่สดทุกชนิดโดยไม่ต้องปรุงรส
นม : นมสด นมผง นมข้นจืด นมขาดมันเนย ไอศกรีมไม่ใส่โซเดียมแอลลิเมต
หลีกเลี่ยง : เนื้อสัตว์ที่แปรรูปและหมักดอง ไข่เค็ม ไข่ดอง ไข่เยี่ยวม้า นมเติมโกโก้ ช็อกโกแลต
วิตามิน / เกลือแร่
ผัก : ผักสดทั่วไป
ผลไม้ : ผลไม้สดทุกชนิด ผลไม้เชื่อมที่ไม่ใส่เกลือ
หลีกเลี่ยง : ผักแปรรูป ผักหมักดองทุกชนิด ผักกระป๋อง ผลไม้แปรรูป ผลไม้หมักดองทุกชนิดที่ใส่สารกันบูดและเกลือ
ไขมัน
น้ำมันพืช เช่น น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันรำข้าว
กะทิไม่ใส่เกลือ เนยจืด น้ำสลัดไม่ใส่เกลือ
หลีกเลี่ยง : น้ำมันปาล์ม เนยสด กะทิใส่เกลือ
หลีกเลี่ยงการใช้เกลือ สิ่งปรุงแต่งรส
อาหารแดช
อาหารที่มีไขมันต่ำและเส้นใยสูง
เน้นผัก ผลไม้ อาหารธัญพืช
โซเดียมน้อยกว่า 1500 mg.
หลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่มีรสหวาน
โรคอ้วน
ต้องควบคุมพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
ลดขนมหวาน ลดการกินจุกจิกระหว่างมื้อ
ลดการรับประทานอาหารกลุ่มพลังงานสูง
ควรรับประทานข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ
รับประทานกลุ่มเนื้อสัตว์ไขมันต่ำ คอเลสเตอรอลต่ำ
เลือกบริโภคอาหารที่มีพลังงานต่ำ ไขมันต่ำ ใยอาหารสูง
ผัก ผลไม้แคลลอรี่ต่ำ
เลือกเครื่องดื่มที่ไม่ใส่น้ำตาล
ชา กาแฟ ไม่ใส่น้ำตาล นมสดจืดพร่องมันเนย น้ำอัดลมสูตรไม่มีน้ำตาล
เลือกเมนูผ่านการปิ้ง นึ่ง อบ ย่าง ต้ม ตุ๋น
แกงไม่ใส่กะทิ หลีกเลี่ยงการทอด ผัด แกงที่ใส่กะทิ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันทรานซ์
เบเกอรี่ต่างๆ เช่น เค้ก โดนัท ปาท่องโก๋
โรคไต
อาหารควบคุมความสมดุลของน้ำ เกลือแร่ และกรดด่างในเลือด
โปรตีน
จำกัดโปรตีน
ปริมาณ 20-40 กรัมต่อวัน
เพื่อลดการทำงานของไต
โปรตีนคุณภาพสูง เช่น เนื้อสัตว์ นม ไข่
ควรให้อาหารที่มีพลังงานมากแทนโปรตีน ได้แก่ น้ำตาล ไขมัน แป้งที่มีโปรตีนน้อย
เพิ่มโปรตีน
ชดเชยโปรตีนที่สูญเสียไปในปัสสาวะ
ปริมาณ
ไตวายเรื้อรัง : 1.2-1.5 g./น้ำหนักตัว 1 kg.
ฟอกเลือดด้วยไตเทียม : 1-1.2 g./น้ำหนักตัว 1 kg.
โซเดียม
จำกัดโซเดียม
Low salt diet (อาหารลดเกลือ)
ลดอาการคั่งของโซเดียมและน้ำในร่างกาย
ระดับการจำกัด
จำกัดเบาที่สุด : ปริมาณ 2500 mg.
จำกัดเพียงเล็กน้อย : 1500-2000 mg.
จำกัดปานกลาง : 1000-1200 mg.
จำกัดอย่างมาก : 500-600 mg.
จำกัดอย่างเข้มงวด : 250 mg.
เพิ่มโซเดียม
ใช้ในผู้ป่วยที่มีการขับถ่ายโซเดียมทางไตมาก
ใช้เครื่องปรุงรสเค็มในการปรุงอาหาร
ใช้อาหารที่มีรสเค็มประกอบอาหาร
กินเนื้อสัตว์ที่ปรุงเค็มมากขึ้น
กินอาหารที่มีโซเดียมมากตามธรรมชาติมากขึ้น
โปตัสเซียม
จำกัดโปตัสเซียม
ในผู้ป่วยที่ไตขับถ่ายของเสียได้น้อย
ลดการทานเนื้อสัตว์ ไข่ ผัก ผลไม้
เพิ่มโปตัสเซียม
ใช้ในผู้ป่วยโรคไตระยะปัสสาวะมาก หรือผู้ป่วยที่ใช้ยาขับปัสสาวะบางชนิด ซึ่งมีฤทธิ์ขับโปตัสเซียม
ควรเลือกกินเนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ที่มีโปตัสเซียมมากให้มากขึ้น โดยเฉพาะในน้ำส้ม และผลไม้แห้ง
จำกัดฟอสเฟต
ในผู้ป่วยที่ไตขับถ่ายของเสียได้น้อย และมีฟอสเฟตในเลือดสูง
ลดการกินไข่แดง นม ถั่วเมล็ดแห้ง ผลไม้แห้ง
โรคเอดส์
สารอาหารที่เพียงพอต่อร่างกายและช่วยลดการติดเชื้อ
กลุ่มผักและผลไม้
ให้วิตามิน เกลือแร่ และกากใยอาหาร
ควรทานทุกวันวันละ 5 ส่วน
ผลิตภัณฑ์จากนม
แหล่งวิตามิน เกลือแร่ แคลเซียม
ควรทานวันละ 3 ส่วน
นมสด เนยแข็ง
กลุ่มเนื้อสัตว์ ไข่ ถั่ว
ให้โปรตีน ช่วยซ่อมแซมร่างกาย
ควรทาน 2-3 ส่วนทุกวัน
ไขมัน
น้ำมันพืช เนย เนยเทียม ไขมันจากสัตว์
ให้พลังงาน กรดไขมันที่จำเป็น
ควรทานในปริมาณที่พอดี ไม่มากเกินไป
น้ำมันจากปลา มีกรดโอเมก้า-3 ช่วยลดระดับไขมันในร่างกายได้
กลุ่มแป้ง
ข้าว ขนมปัง ธัญพืช เผือก
ควรทานทุกมื้ออาหารวันละ 4-6 ส่วน
ให้พลังงานแก่ร่างกาย
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
อาหารดิบ : ปลาดิบ เนื้อที่ยังปรุงไม่สุก
ผลิตภัณฑ์จากนมที่ยังไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ
อาหารเสริมหรือเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของ Probiotic
อาหารที่มีราขึ้น / หมดอายุแล้ว
ควรแยกอาหารที่ยังไม่ได้ทำให้สุกกับอาหารที่สุกแล้วออกจากกัน
โรคโลหิตจาง
รับประทานอาหารที่ช่วยบำรุงเลือด
แหล่งอาหารที่มีธาตุเหล็ก
ผักใบเขียว
ผักโขม คะน้า บร็อคโคลี่
ร่วมกับอาหารที่มีวิตามินซีสูง : ช่วยดูดซึมธาตุเหล็กได้ดียิ่งขึ้น
ธัญพืช
ผลไม้อบแห้ง : ลูกเกด ลูกพรุน
ถั่วชนิดต่างๆ : ถั่วแดง ถัุ่วดำ ถั่วลันเตา ถั่วลิสง อัลมอนด์ แมคคาเดเมีย เมล็ดฟักทอง เมล็ดทานตะวัน
ซีเรียล ดาร์กช็อกโกแลต โกโก้ ขนมปังโฮลเกรน
อาหารทะเล
กุ้ง หอยนางรม หอยตลับ หอยลาย
ปลา : ปลาตาเดียว ปลาซาดีน ปลาทูน่า ปลาแซลมอน
เนื้อสัตว์
เนื้อสัตว์ปีกทุกชนิด
โดยเฉพาะเนื้อแดง
เครื่องในสัตว์ : ตับ หัวใจ ไต ลิ้น
อาหารที่ควรเลี่ยง
ไฟเตท
ในผักใบเขียวและผักที่มีรสฝาด
ขี้เหล็ก กระถิน ถั่วเหลือง ข้าวฟ่าง ข้าวโพด ข้าวไม่ขัดสี
โพลีฟีนอล
ในผักใบเขียวเข้ม ขมิ้นชัน สมุนไพร
แคลเซียม
ในนม ชีส ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากนม
แทนนิน
ในผักใบเขียวเข้ม ชา เครื่องเทศ กาแฟ ไม่ควรดื่มชาหรือกาแฟพร้อมมื้ออาหารหรือหลังมื้ออาหารทันที
โรคเก๊าท์
ควบคุมอาหารประเภทที่มีกรดยูริกสูง
อาหารที่มีปริมาณพิวรีนปานกลาง
รับประทานได้ปริมาณจำกัด
เนื้อหมู เนื้อวัว ปลากะพง ปลาหมึก ปู
ถั่วลิสง ใบขี้เหล็ก สะตอ ผักโขม หน่อไม้
อาหารที่มีปริมาณพิวรีนน้อย
รับประทานได้ปกติ
นม ผลิตภัณฑ์จากนม ไข่ ผักและผลไม้
ธัญพืชต่างๆ เช่น ข้าวโอ๊ต ข้าวฟ่าง ลูกเดือย ข้าวโพด
ไขมันจากพืชและสัตว์ เนยเหลวและเนยแข็ง
อาหารที่มีปริมาณพิวรีนมาก
ควรงดเว้นหรือหลีกเลี่ยง
ตับอ่อน หัวใจ ตับกึ๊นของไก่ เนื้อไก่ เป็ด ห่าน มันสมองวัว
ไข่ปลา ปลาอินทรีย์ ปลาดุก ปลาไส้ตัน กุ้งชีแฮ้ หอย
ถั่วดำ ถั่วเขียว ถั่วแดง ถั่วเหลือง ชะอม กระถิน กะุปิ
โรคริดสีดวง
อาหารที่ช่วยในการขับถ่าย
อาหารที่ควรรับประทาน
ธัญพืชชนิดต่างๆที่ไม่ขัดสี
ข้าวกล้อง ข้าวบาร์เล่ย์ โฮลวีท
อุดมไปด้วยรำข้าว และจมูกข้าวที่มีใยอาหารเป็นส่วนประกอบหลัก
ข้าวบาร์เล่ย์ : มีใยอาหารสามารถละลายน้ำได้
ผักตระกูลกะหล่ำ
ช่วยในการทำงานของระบบย่อยอาหารเพราะมีใยอาหารมาก
กะหล่ำดอก กะหล่ำปลี ผักกาดขาว
ถั่วชนิดต่างๆ
ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วดำ
มีใยอาหารมากถึง 1 ใน 3 ที่ร่างกายต้องการต่อวัน
อาหารที่ไม่ควรรับประทาน
เนื้อสัตว์
เนื้อสัตว์ที่ย่อยยาก : เนื้อควาย เนื้อวัว
ผักและผลไม้บางชนิด
ผักที่มีฤทธิ์ร้อน : สะตอ ชะอม กระถิน
ผลไม้ที่มีรสหวาน : ทุเรียน ละมุด
อาหารรสจัด
อาหารทะเลทุกชนิด
เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน/แอกอฮอล์
ของทอด
อาหารแปรรูป อาหารหมักดองทุกชนิด
ชีส เบคอน ปลาร้า หอยดอง ปลาส้ม
ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง : ไม่ควรให้นมมาก
นางสาวสโรชา เรี่ยมศร
ปี1 รุ่น38 63111301093 เลขที่93