Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา, บทที่ 2…
บทที่1 หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบคุณภาพ (Quality System)
ลักษณะ
การออกแบบโครงสร้างความรับผิดชอบ ขั้นตอน กระบวนการ และแหล่งทรัพยากรขององค์กร เพื่อนำมาใช่กับการบริการเพื่อคุณภาพ
ฝ่ายบริหารได้พัฒนาจัดตั้งและนำระบบคุณภาพไปใช้เป็นเครื่องมือ เพื่อให้นโยบายวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้บรรลุผลสำเร็จ
ระบบคุณภาพต้องมีรายการองค์ประกอบต่างๆ ตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานนานาชาติอย่างเหมาะสม
การให้ความเชื่อมั่นว่า
ทุกคนเข้าใจระบบเป็นอย่างดี และระบบนั้นมีประสิทธิผล
สินค้าหรือบริการ สามารถตอบสนองความคาดหวังของลูกค้าได้อย่างแท้จริง
เน้นที่การป้องกันปัญหามากกว่าการแก้ไขหลังจากเกิดปัญหา
ความหมาย
ระบบที่ทำให้เห็นถึงแนวทางปฏิบัตินำไปสู่ผลผลิตที่มีคุณภาพ เป็นการรวมสิ่งต่างๆให้เป็นหนึ่งเดียว
องค์ประกอบสำคัญ
การวางแผนคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
การปรับปรุงคุณภาพ
ผลการปฏิบัติจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานหรือข้อกำหนดการดำเนินงานที่เหมาะสม
การบริหารคุณภาพ (Quality Management)
ความหมาย
กระบวนการที่กำหนดและการบริหารกิจกรรมต่างๆ ที่มีความจำเป็นต่อการดำเนินการให้ได้มาซึ่งจุดประสงค์ด้านคุณภาพขององค์การ
Juran (1951)
การพัฒนาคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
การวางแผนคุณภาพ
Heilpern & Nadler (1992)
ความสามารถในการควบคุมกระบวนการ เน้นสมรรถนะในการดำเนินการ
การบริหารจัดการโดยข้อเท็จจริง
การใช้กระบวนการในการแก้ปัญหา
การให้ความสำคัญกับเศรษฐศาสตร์คุณภาพ
กระบวนกำรที่มุ่งเน้นลูกค้ำและผู้ป้อนวัตถุดิบ
การทำงานเป็นทีมและการมีส่วนเกี่ยวข้องในการทำงาน
หลักการ
การมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์การ
การเน้นกระบวนการในการจัดกิจกรรมและทรัพยากรอย่างเหมาะสม
ภาวะผู้นำแสดงเป้าหมายและทิศทางในการดำเนินการ
การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ
การให้ความสำคัญความต้องการของผู้รับบริการ
การปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่องในกิจกรรมที่ดำเนินการ
การตัดสินใจบนฐานของข้อเท็จจริง ขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์ข้อมูลและระบบสารสนเทศ
ความสัมพันธ์เชิงพึ่งพากันระหว่างองค์การกับผู้ส่งมอบผลิตภัณฑ์
ประโยชน์
เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด ผลผลิตเป็นที่นิยม เป็นที่ยอมรับ มีผู้มาใช้บริการมากขึ้น
ลดภาระค่าใช้จ่าย และ ข้อผิดพลาดในการดำเนินการ
องค์การมีภาพลักษณ์ที่ดี ช่วยเพิ่มผลผลิตและคุณภาพมากขึ้น ได้รับความเชื่อถือจากสังคมและผู้ใช้บริการ
คุณภาพ
คุณลักษณะต่างๆทั้งหมดของสินค้าหรือบริการ ซึ่งแสดงถึงความสามารถในการสร้าง เพื่อสนองตอบต่อความต้องการ และเป็นไปตามความต้องการ หรือเป็นไปตามที่กำหนดไว้จนสามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าได้
การประกันคุณภาพการศึกษา
คุณภาพการศึกษา
การศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการสร้างคุณภาพคน เกี่ยวข้องกับหลายปัจจัยที่เข้ามา ต้องมีระบบการสร้างคน สร้างค่านิยมและวัฒนธรรมในการทำงานที่ถูกต้อง โดยทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วม
ความหมาย
การปฏิบัติภารกิจอย่างเป็นระบบตามแบบแผนที่กำหนดไว้ โดยมีการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Auditing) และการประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) จนทำให้เกิดความมั่นใจในคุณภาพและมาตรฐานของดัชนีชี้วัด
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น
ความสำคัญ
ป้องกันการจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพ
ทำให้ผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษามุ่งบริหารจัดการศึกษาสู่คุณภาพและมาตรฐานอย่างจริงจัง
ทำให้ได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาที่เชื่อถือได้ เกิดความเชื่อมั่น
ระบบ
ระบบการประกันคุณภาพภายใน (IQA)
ระบบการประกันคุณภาพภายนอก (EQA)
ประโยชน์
ครูได้ทำงานอย่างมืออาชีพ พัฒนาตนเองและผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
ผู้บริหารได้ใช้ภาวะผู้นำ และความรู้ความสามารถในการบริหารงานอย่างเป็นระบบ และมีความโปร่งใส
ผู้เรียนและผู้ปกครองมั่นใจว่าสถานศึกษาจะจัดการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นไปตามที่กำหนด
หน่วยงานที่กำกับดูแลได้สถานศึกษาที่มีคุณภาพและศักยภาพในการพัฒนาตนเอง
ผู้ประกอบการ ชุมชน สังคม และประเทศชาติได้เยาวชนและคนที่ดีมีคุณภาพและศักยภาพที่จะช่วยทำงานพัฒนาองค์กร ชุมชน สังคมและประเทศชาติต่อไป
การประกันคุณภาพ
เป็นการบริหารจัดการเพื่อให้เกิดประสิทธิผลหรือการตัดสินใจเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วเกิดผลดี
มุ่งทำให้เกิดความมั่นใจว่าจะบรรลุข้อกำหนดทางด้านคุณภาพ
เป็นการกระทำที่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและเป็นไปอย่างมีระบบ ซึ่งต้องมีเพื่อให้ความให้ความมั่นใจได้ว่าผลิตภัณฑ์หรือบริการ จะสามารถตอบสนองความต้องการด้านคุณภาพได้ตามที่ตกลง
บทที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย พ.ศ. 2561
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
การประเมินและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา
กลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชน
ณ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561
: ธีรเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์
ข้อ 1 ให้ยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553
การดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและภายนอกไม่สัมพันธ์กัน
ป็นการสร้างภาระแก่สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษา
ข้อ 2
“การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายถึง การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา
“สำนักงาน” หมายถึง สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
ข้อ 3
สถานศึกษา
กำหนดมาตรฐาน
จัดทำแผนพัฒนา
ดำเนินงานตามแผน
ประเมินผลและตรวจสอบ
ติดตามผล
จัดทำ/จัดส่งรายงานการประเมิน ฯ
หน่วยงานต้นสังกัด
ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ แนะนำ
รวบรวมและสังเคราะห์ SAR
ติดตามการดำเนินงานปรับปรุงและพัฒนา
ให้ความร่วมมือกับสมศ.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา พ.ศ. 2561
ระดับปฐมวัย
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
นโยบายการปฏิรูประบบการประเมิน
และการประกันคุณภาพการศึกษา
ปรับจำนวนมาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่สะท้อนคุณภาพ
ลดภาระการประเมินที่ยุ่งยากกับสถานศึกษา
ลดการจัดทำเอกสารเพื่อการประเมิน
ปรับปรุงกระบวนการประเมินที่สร้างภาระแก่สถานศึกษา
ปรับมาตรฐานผู้ประเมินให้ได้มาตรฐาน
การเปรียบเทียบมาตรฐานการศึกษา
มาตรฐาน พ.ศ. 2559
ปฐมวัย (พ.ศ. 2554)
1 มฐ. 51 ตัวบ่งชี้
ศูนย์การศึกษาพิเศษ (พ.ศ. 2560)
4 มฐ. 20 ประเด็นการพิจารณา
ขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2559)
4 มฐ. 18 ประเด็นการพิจารณา
มาตรฐาน พ.ศ. 2561
ขั้นพื้นฐาน
3 มฐ. 21 ประเด็นการพิจารณา
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
3 มฐ. 15 ประเด็นการพิจารณา
ปฐมวัย
3 มฐ. 14 ประเด็นการพิจารณา
มาตรฐานการศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561
ความหมาย
ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงค์ของคนไทย ที่มีจุดหมายร่วม “ธำรงความเป็นไทยและแข่งขันได้ในเวทีโลก”
หลักการกำหนด
เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ
เชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของคน
มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
รับผิดขอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ
ป็นพลเมืองดี มีคุณภาพและความสามารถสูง
กระบวนการจัดทำ
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของคนไทยในอนาคต
การเสนอร่าง ทบทวน และเสนอมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. ...
การประชุมรับฟังความคิดเห็นทุกภาคส่วน
การประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อร่าง
มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. ...
การยกร่างมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. ...
การติดตามผลการดําเนินงานและประเมินผล
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศูนย์การศึกษาพิเศษ พ.ศ. 2561
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
กฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
ระบบการประกันคุณภาพภายใน
ระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรา 48 หน้าที่ในการจัดให้มีระบบ
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตรา 49 ให้มี สมศ. มีฐานะเป็น (องค์การมหาชน)
ทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก
และทำการประเมินผลการจัดการศึกษา
เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา
คำนึงถึงความมุ่งหมายและหลักการ (หมวด 1)
แนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ (หมวด 4)
มาตรา 50 หน้าที่ของสถานศึกษาในการให้ความร่วมมือ (อย่างเต็มใจ) กับ สมศ. ทำการประเมินคุณภาพภายนอก
มาตรา 51 ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาที่ไม่ได้ มาตรฐานที่กำหนด ให้ สมศ. จัดทำข้อเสนอแนะ และการปรับปรุงแก้ไข หากมิได้ดำเนินการ ให้ สมศ. รายงาน กพฐ. / กอศ. / กกอ.
บทที่ 3 แนวทางการพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษา
หลักเกณฑ์และแนวดำเนิน
การประกันคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานของสถานศึกษา
ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
กำหนดมาตรฐานการศึกษาการวางแผน
การประเมินคุณภาพภายใน
ใช้ผลประเมิน เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อเนื่อง
การดำเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา
ปรับเปลี่ยนแนวคิดการประเมินคุณภาพการศึกษา
แนวคิดและกระบวนการประเมินแนวใหม่
ระบบการประเมินภายนอก
ปรับเปลี่ยนบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
การประเมินคุณภาพการศึกษา การปรับเปลี่ยน
ความสัมพันธ์ในการประเมินภายในและการประเมินภายนอก
ปรับปรุงมาตรฐานผู้ประเมิน
ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานด้านคุณภาพของผู้เรียน
มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน
มาตรฐานด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
การประกันคุณภาพการศึกษา
Do
Check
Plan
Act
แนวคิดและหลักการ
เกิดจากความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่าย ไม่สามารถว่าจ้างหรือขอให้บุคคลอื่นๆ ดำเนินการแทนให้
เป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนที่ต้องปฏิบัติตามภารกิจ
ยอมรับและนำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา
มุ่งพัฒนาการดำเนินงานตามความรับผิดชอบของตนให้มีคุณภาพดี
เน้นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่ทำเพื่อเตรียมรับการประเมินครั้งคราว
การเปลี่ยนแปลง
การยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 และประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561
นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์และแนวดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
IQA
พัฒนาเข้าสู่มาตรฐาน
มีการดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ลายลักษณ์อักษรเพื่อความมั่นใจ
จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self-Assessment Report : SAR)
การนำข้อมูลมาจัดทำเป็นรายงานการประเมินตนเอง
เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด เตรียมการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ข้อกำหนดคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์
หลักเทียบเคียงารส่งเสริม กำกับดูแล ตรวจสอบ ประเมินผล และการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
แนวทางการพัฒนา
การเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการทำงาน (Participation)
การแสดงภาระรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้(Accountability)
การกระจายอำนาจ (Decentralization)
กระบวนการดำเนินการประกันคุณภาพ
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
กระบวนการติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าของการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
คุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ
กิจกรรม/โครงการ/นวัตกรรมต้องสะท้อนผลที่เกิดกับผู้เรียนได้
การประเมินคุณภาพภายใน
ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
EQA
ประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เยี่ยมชมสถานศึกษา (Site Visit)
ติดตามและตรวจสอบ
วิเคราะห์ SAR
รายงานผลการประเมินภายนอก
การปรับปรุงประเด็นต่าง ๆ ให้ดีขึ้น (Improvement)
การพัฒนานวัตกรรมจากประเด็นต่าง ๆ (Innovation)
มาตรฐานของสถานศึกษา (Internal Correction)
การจัดระบบตามกฎกระทรวง พ.ศ.2561
การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
การบริหารเชิงระบบ (System Approach
การใช้วงจรการพัฒนาคุณภาพ (PDCA)
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based Management)
การบริหารแบบมุ่งสัมฤทธิ์ (Total Quality Management)
การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ (Quality System Management)
การใช้ห่วงโซ่คุณภาพ (Chain of quality)
ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้
คุณภาพการศึกษาด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา
การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
แผนระยะยาว
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา(แผนกลยุทธ์ 3-5 ปี)
แผนระยะสั้น
แผนปฏิบัติการประจำปี (Action Plan/Operation Plan)
ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
สถานศึกษาดำเนินการทั้งปีขึ้นอยู่กับการตกลงภายในสถานศึกษา
ต้นสังกัดตรวจสอบอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ข้อกำหนดคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง และใช้เป็นหลักในการเทียบเคียง
การทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
ตารางสาระสำคัญของรายงาน
ส่วนที่ 3 ผลการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ส่วนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำผลไปใช้
ส่วนที่ 2 แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
สร้างจิตสำนึก
กำหนดมาตรฐานการศึกษาที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
นำผลประเมินคุณภาพภายใน
บุคคลแห่งการเรียนรู้
องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)
บทที่ 5 มาตรฐานการศึกษา
:ระบบการวัดผลแบบ OKRs
การออกแบบระบบ OKRs
ผู้อำนวยการโรงเรียน/คณบดี
ฝ่ายการเงิน
ฝ่ายวิชาการ
ฝ่ายบริหารทั่วไป
ฝ่ายบุคคล
คุณครู/อาจารย์
วัตถุประสงค์หลัก
ผลลัพธ์หลัก
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
ระดับปฐมวัย
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย / อาชีวศึกษา
ระดับประถมศึกษา
ระดับอุดมศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ตัวอย่าง OKRs ผู้บริหารสถานศึกษา
วัตถุประสงค์หลัก - ดูแลเด็กให้มีพัฒนาการเป็นไปตามวัย
ผลลัพธ์หลัก - เด็กเล็กที่อยู่ในความดูแลมีพัฒนาการตามวัยที่กำหนดร้อยละ XX
การใช้ OKRs กับการประกัน
คุณภาพการศึกษา
วัตถุประสงค์หรือการคาดคะเนของแต่ละบุคคลเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่คาดหวังในอนาคต
เป้าหมายในทางทฤษฎีเป็นตัวกำกับที่สะท้อนให้เห็นถึงพฤติกรรมของบุคคลที่นำไปสู่เป้าหมายอันเป็นผลลัพธ์สุดท้าย
ความหมาย : OKRs
Objectives - วัตถุประสงค์หลักเป็นการบอก
จุดมุ่งหมายของหน่วยงาน (What) "ไม่มีตัวเลข"
OKR (Objective and Key Results)
: เครื่องมือในการตั้งเป้าหมายและกำหนดตัววัดผล
Key Results : ผลลัพธ์หลักเป็นการบอกว่าจะทราบได้
อย่างไรว่าเราบรรลุจุดมุ่งหมายนั้น (How) "เป็นตัวเลข"
กรอบการตั้งเป้าหมาย
SMARTER
R
- เป็นจริงได้ (Realistic)
T
- มีกำหนดเวลา (Time-Based)
A
- เห็นพ้องร่วมกัน (Agreed Upon)
E
- มีจริยธรรม (Ethical)
M
- วัดได้ (Measurable)
R
- บันทึกผลได้ (Recorded)
S
- เฉพาะเจาะจง (Specific)
OKRs
การออกแบบวัตถุประสงค์
กำหนดกลยุทธ์หลักขององค์กร
ให้สอดคล้องทั้งระดับหน่วยงาน และระดับผู้ปฏิบัติ
จำนวนไม่เกิน 3-5 ข้อ กำหนดเป็นรายไตรมาสจนถึงรายปี
มีลักษณะเชิงคุณภาพ (นอกเหนือจากงานประจำ)
การออกแบบผลลัพธ์หลัก
มีความชัดเจนวัดผลได้ไม่มีความคลุมเครือ
มีจำนวนไม่มากนัก โดยทั่วไปจะมีไม่เกิน 5 ผลลัพธ์หลักต่อวัตถุประสงค์ 1 ข้อ
การเขียนผลลัพธ์หลัก ต้องมีการออกแบบค่าเป้าหมายและต้องมีความท้าทาย เป็นไปได้
การตรวจสอบ
ผลลัพธ์หลัก ต้องวัดผลได้ชัดเจน
มีความสอดคล้องกับOKRs ในระดับบน และในระหว่างหน่วยงาน
มีความท้าท้าย เป็นไปได้ ไม่ง่าย ไม่ยาก
เป็นการตั้งวัตถุประสงค์พร้อมทั้งผลลัพธ์หลักที่วัดผลได้ชัดเจน
ขั้นตอนการนำ OKRs
ไปใช้ในทางปฏิบัติ
OKRs ที่ต้องทำ
(Committed OKRs)
ต้องท้าทายแต่เป็นจริงได้
จับต้องได้ มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
มีเหตุผลให้เห็นได้ว่ามีโอกาสสำเร็จ
แสดงออกถึงเป้าหมายและความตั้งใจ
ความสำเร็จต้องสะท้อนคุณค่าได้อย่างชัดเจน
OKRs ที่อยากทำ
(Aspirational OKRs)
ต้องเป็นการเขียนถึงผลลัพธ์ ไม่ใช่กิจกรรม
ต้องรวบรวมหลักฐานแห่งความสำเร็จ เชื่อถือได้ เข้าถึงได้ง่าย
ถึงความสำเร็จที่วัดความคืบหน้าได้ และถ้าทำสำเร็จสามารถบอกได้ล่วงหน้าว่าจะช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์หลักขององค์กรได้อย่างไร
หลักนำไปใช้
เริ่มต้นออกแบบ OKRs
สื่อสารให้ทุกคนเข้าใจวิธีการนำเอา OKRs ไปใช้
การทำความเข้าใจในแนวคิดของ OKRs
การนำ OKRs ไปใช้ในทางปฏิบัติ
หลักการสำคัญในการใช้
F : Feedback การให้ข้อมูลย้อน
R : Recognition การให้การยอมรับ
C : Conversation การสนทนา
ปัญหาที่เกิดจากใช้
นำงานประจำทั่วไป ที่ไม่สำคัญมาตั้งเป็นวัตถุประสงค์
การตั้งวัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์องค์กร
การตั้งเป้าหมายใน OKRs ไม่ท้าทาย - เกิดจากความกลัว
การตั้งผลลัพธ์หลักจำนวนไม่เหมาะสมมากหรือน้อย
ไปและไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บทสรุปของ OKRs : ประโยชน์
ข้อจำกัด/ข้อเสนอแนะ การใช้ OKRs
ประโยชน์
สถานศึกษา
นำแนวคิดการออกแบบและการนำ OKRs ไปใช้กับโรงเรียน
เริ่มจากการสร้าง OKRs ระดับสถานศึกษา ระดับฝ่ายงาน
และระดับผู้สอน ปรับให้เข้ากับบริบทของแต่ละโรงเรียน
ภาครัฐ
ระบบ OKRs ไปใช้กับโรงเรียน เพื่อกำหนดวัตถุประสงค์
และผลลัพธ์หลักให้สอดคล้องกับนโยบายและโครงการของ
กระทรวงหรือหน่วยงาน และเหมาะสมกับแต่ละบริบทของโรงเรียน
ข้อจำกัด
ขาดความเชื่อมั่นในการกำหนด OKRs ประเภทที่อยากทำ
กำหนดผลลัพธ์ที่สำคัญไม่เพียงพอต่อการบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์
ไม่สามารถกำหนด OKRs ประเภทที่ต้องทำ
กับประเภทที่อยากทำให้แตกต่างกันได้
ข้อเสนอแนะ
Attainable : สามารถบรรลุได้
Doable in 3 months : ทำได้ใน 3 เดือน
Inspirational : เกิดแรงบันดาลใจ
Controllable by the team : อยู่ภายใต้การควบคุมของเรา
Provide organization value : สร้างคุณค่าให้องค์กร
บทสรุปของ OKRs
ปรับแต่งและเชื่อมโยงการทำงานเป็นทีม
ติดตามผลเพื่อแสดงความรับผิดชอบ
โฟกัสและจัดลำดับความสำคัญ
เป้าหมายที่ท้าทายเพื่อผลงานที่แปลกใหม่
บทที่ 6 การจัดทำแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา
แนวคิด หลักการและความสำคัญ
การจัดทำแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา
หลักการของการเขียนโครงการ
และการประเมินโครงการ
การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี
บทที่ 4
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
แนวคิดและหลักการของมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
มีการสร้างโอกาสในการเรียนรู้และ
ให้เวลาผู้เรียนในการทำงานกลุ่มมากขึ้น
ใช้กลวิธีการประเมินที่หลากหลาย
จัดการเรียนการสอนที่กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจ
กระตือรือร้นในการที่จะเรียนรู้
จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ
จัดสิ่งแวดล้อมที่จำเป็นอย่างมีระเบียบ สะอาด และปลอดภัย
ขจัดสิ่งที่เป็นอุปสรรคสำหรับความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน
มีการจัดหลักสูตรที่ชัดเจนสอดคล้องกับเป้าหมาย
พัฒนางานอยู่บนพื้นฐานของการวิจัย
ใช้แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่อย่างเต็มที่และ
วางแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพ
สิ่งสำคัญที่บ่งบอกการจัด
การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษา บ้าน และชุมชนมีความใกล้ชิด ไว้ใจ
มีการตั้งความคาดหวังของผลสำเร็จไว้สูง
มีการกำกับติดตามงานสม่ำเสมอ
มีความเป็นผู้นำด้านการจัดการเรียนรู้อย่างมืออาชีพทั้งครูและผู้บริหาร
มีการกำหนดภารกิจของสถานศึกษาที่ชัดเจน
มาตรฐานการศึกษา
ความหมาย
มาตรฐานการศึกษาเกี่ยวข้องกับปัจจัย กระบวนการ และผลผลิตของการจัดการศึกษา
กำกับ ติดตาม ดูแล ตรวจสอบ และประกันคุณภาพของสถานศึกษา
ความสำคัญ
และความจำเป็น
มาตรฐานถูกกำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบการประเมินผลและการประกันคุณภาพการศึกษา
เป็นการกำหนดความคาดหวังที่ชัดเจนให้กับครู ผู้บริหาร พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วย/งานต่าง ๆ
มาตรฐานการศึกษาเป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง
สถานศึกษาทุกแห่งมีเกณฑ์เปรียบเทียบกับมาตรฐานซึ่งเป็นมาตรฐานเดียวกัน
มาตรฐานทำให้สถานศึกษาเข้าใจชัดเจนว่าจะพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปในทิศทางใด
ประโยชน์
สามารถวางหลักและแนวทางในการกำหนดนโยบายแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
สามารถกำหนดเป้าหมายและแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษา
เป็นเครื่องมือในการกำกับ การตรวจสอบ การนิเทศ การติดตาม ประเมินผล และการประกันคุณภาพการศึกษา
เป็นมาตรฐานการศึกษาสำหรับการประกันคุณภาพภายนอก และเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนามาตรฐานการศึกษาในระยะต่อไป
มีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับสถานภาพและความก้าวหน้า
ประโยชน์ต่อบุคคล
พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ประชาชน และผู้นำชุมชน รับทราบกระบวนการ และมีส่วนร่วมใช้มาตรฐานเป็นเครื่องมือสื่อสารจัดการศึกษา
ท้องถิ่นและสถานศึกษา ใช้มาตรฐานเป็นแนวทางร่วมมือกันในการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่ตั้งไว้
ครู พัฒนาตนเองตามคุณลักษณะและคุณสมบัติตามมาตรฐานที่กำหนด
ประเทศชาติ ใช้มาตรฐานเป็นเครื่องมือที่ทำให้ทุกองค์กร ขับเคลื่อนไปพร้อมกัน สู่เป้าหมายเดียวกันและทำให้เกิดภาพการจัดการศึกษาที่มีความหมาย
1.ผู้เรียน เกิดการปรับปรุงและพัฒนาตนเองตามความคาดหวังของสังคมและประเทศชาติ
แนวทางการประเมินคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษา
จุดเน้นด้านการประเมินและการพัฒนา
การทดสอบผ่าน/การซ้ำชั้น
ป.6 ม.3 และ ม.6
การประกันคุณภาพการศึกษา
การกำหนดแนวทางการคัดเลือกบุคคล
เข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
การสร้างเครื่องมือ ระบบ และวิธีประเมิน
การประเมินผลสัมฤทธิ์
ผู้เรียนและสถานศึกษา
การพัฒนาแบบทดสอบการ
ศึกษามาตรฐานระดับชาติ
การประเมินครู
แนวทางการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา
ระดับชั้นเรียน
อิงตนเอง เพื่อน ปกติวิสัย และมาตรฐาน
บูรณาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
ความก้าวหน้า เน้นประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ความรอบรู้ ด้านการวัดผลและคลังเครื่องมือประเมินที่มีคุณภาพสูง
ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ โดยคำนึงถึงสภาพบริบท
ปัจจัย กระบวนการดำเนินงานและผลลัพธ์ของผู้เรียน
ระดับโรงเรียน/เขตพื้นที่
ยึดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา คำนึงถึงสภาพบริบท ปัจจัย กระบวนการดำเนินงาน และผลลัพธ์ของผู้เรียน
ประเมินระบบกำกับที่มีสารสนเทศที่แสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
ประเมินความก้าวหน้า กับประเมินที่มีเกณฑ์ที่เป็นหลักเทียบ
ผู้บริหารจำเป็นต้องมีความรอบรู้ด้านการประเมิน
ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่จากการประเมินชั้นเรียน
เพื่อการบริหารงานที่เหมาะสมกว่าเดิม
เน้นการประเมินเพื่อการพัฒนาตนเอง
การประเมินระดับชาติ
ประเมินผลสรุปเป็นส่วนหนึ่งของระบบ กำกับที่
มีสารสนเทศเพื่อแสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
กระบวนการพัฒนาการประเมิน มีเครื่องมือที่มาตรฐาน
และกำหนดมาตรฐานผลลัพธ์ที่พึงประสงค์
การใช้ข้อมูลขนาดใหญ่จากการทดลองระดับชาติที่ให้ข้อมูลป้อนกลับ
แนวทางการประเมินคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา
2.การดำเนินงาน
3.การจัดทำรายงาน
ผลการประเมิน
1.การเตรียมการ
หลักการ IQA
จุดมุ่งหมาย
สถานศึกษาร่วมกันพัฒนาปรับปรุงคุณภาพ
เป้าหมายสำคัญในการพัฒนา
คุณภาพให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
ดำเนินการ
ทำให้การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่ง
ไม่แยกส่วน ดำเนินงานตามปกติ
ต้องวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาและแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน
IQA
สร้างความตระหนัก
ทุกคนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย วางแผน
ติดตาม พัฒนา ปรับปรุง ร่วมกัน
แนวทางการกำหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
2.ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
ด้านการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการ
ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร
ด้านการบริหารคุณภาพของสถานศึกษา
ด้านการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการ
1.ด้านคุณภาพผู้เรียน
ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา
กำหนดและการมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม
ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย รวมทั้งการยอมรับ
ที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานขั้นสูง
การมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดและการแก้ปัญหา
มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานขั้นต้น
ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
3.ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นที่การปฏิบัติ (active learning) เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและการปฏิบัติที่นำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทน
มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานขั้นต้น
จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง และสามารถในการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ตรวจสอบและประเมินผู้เรียน นำผลมาพัฒนาผู้เรียน
มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานขั้นสูง
บริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก รวมทั้งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
การพัฒนามาตรฐานการศึกษา
แต่ละระดับต้องกำหนดเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
รายละเอียดของมาตรฐาน ประเด็นพิจารณา และระดับคุณภาพ
ประเมินตามเกณฑ์ และตัดสินคุณภาพและมาตรฐาน 3 ระดับ
ระดับตัวบ่งชี้
ระดับมาตรฐาน
ระดับสถานศึกษา
ประเมินกระชับจำนวนน้อย แต่สะท้อนบริบทและคุณภาพการศึกษาได้จริง
การกำหนดมาตรฐาน
ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป้าหมายการพัฒนาในภาพรวม กำหนดตัวบ่งชี้หรือเอกลักษณ์ท้องถิ่น
ระดับสถานศึกษา นำมาตรฐาน นโยบาย จุดเน้นและอัตลักษณ์ที่โดดเด่นมาเชื่อมโยงกัน แล้วกำหนดเป็นมาตรฐานของสถานศึกษา
ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดทิศทางในการดำเนินงาน
กระบวนการกำหนดมาตรฐาน
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและค่าเป้าหมาย
ตรวจสอบและทบทวนมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานการศึกษาต่าง ๆ
ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เตรียมความพร้อมกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
แนวทางการกำหนดเป้าหมาย
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา (SWOT Analysis)
กำหนดเป้าหมายความสำเร็จที่ท้าทายตามมาตรฐานการศึกษา