Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pleural effusion - Coggle Diagram
Pleural effusion
การพยาบาล
- ประเมินอัตราการหายใจ ความลึก การใช้กล้ามเนื้ออื่นๆ
ช่วยในการหายใจและภาวะ Cyanosis
เพื่อเป็นการประเมินความรุนแรงของภาวะพร่องออกซิเจน
- ประเมินเสียงลมหายใจนข้าไปในปอดเนื่องจากการลดของเสียงลมที่ผ่านปอดเป็นข้อบ่งชี้ว่าเกิดการแฟบของปอด (Lung collapse)
- ประเมินอาการและอากรแสดงที่บ่งบอกถึงภาวะเนื้อเยื่อขาดออกชิเจน
เช่น ปลายมือปลายเท้าเย็น ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงอาการกระสับกระส่าย การตอบสนองลดลง
- บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่ว โมง
และประเมินค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (O2 sat)
- วางแผนการทำกิจกรรมการพยาบาลเพื่อแบ่งช่วงให้ผู้ป่วยได้พัก พร้อมทั้งอธิบายถึงสาเหตุที่ต้องจำกัดกิจกรรมของผู้ป่วย เพื่อช่วยลดการใช้ออกชิเจนของร่างกาย
- ดูแลให้อยู่ในท่า Foeler's position เพื่อให้ปอดสามารถขยายตัวได้อย่างเต็มที่ซึ่งจะทำให้มีการแลกเปลี่ยนแก๊สได้ดี
- ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจลึกๆ อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างน้อยทุกๆ 1 ชั่วโมงโ
- ติดตามผลเอ็กชเรย์ปอดเพื่อประเมินการขยายตัวของปอด (Lung expansion) ภาวะน้ำคั่งในช่องเยื่อหุ้มปอด(Pleural efftusion) การมีของเหลวแทรกซึมเข้าไปในเนื้อเยื่อปอด(Infiltration)ซึ่งอาจทำให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอดลดลงได้
-
-
-
สาเหตุ
-โรคปอด เช่น วัณโรคเยื่อหุ้มปอดภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดร่วมกับปอดอักเสบ
-มะเร็งปอดหรือมะเร็งอวัยวะอื่นที่แพร่กระจายมายังเยื่อหุ้มปอด
-โรคหัวใจ ได้แก่ ภาวะหัวใจวาย เลือดคั่ง
-โรคไต ได้แก่ ภาวะไตวาย กลุ่มอาการที่มีไข่ขาวในปัสสาวะ
-โรคตับแข็ง
-โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น โรคเอสแอลอี
อาการและอาการแสดง
เจ็บหน้าอก หอบ หายใจถี่ หายใจลำบากเมื่อนอนราบ หรือหายใจเข้าลึกลำบากเนื่องจากของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอดไปกดทับปอด ทำให้ปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่ ไอแห้งและมีไข้ เนื่องจากปอดติดเชื้อ สะอึกอย่างต่อเนื่อง
-