Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการบำบัดจิตเวช - Coggle Diagram
แนวคิดการบำบัดจิตเวช
การรักษาด้วยไฟฟ้า
-
-
หลังได้รับยาสลบและคลายกล้ามเนื้อ ประเมินระดับความรู้สึกด้วยการทดสอบเขี่ยขนตา สังเกตการสั่นพลิ้วของกล้ามเนื้อ สังเกตมอนิเตอร์ ระหว่างการทำการรักษาด้วยไฟฟ้า
หลังทำ ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ ประเมินสัญญาณชีพตามแผนการรักษา สอบถามอาการปวดเมื่อย ไม่สอบถามหรือสิ่งที่ทำให้ผู้ป่วยต้องนึกคิด
การรักษาด้วยยาทางจิตเวช
Antidepressant drug
รักษาอาการซึมเศร้า
Ex. amitriptyline, Imipramine, Nortriptyline, Fluoxetine
-
-
Mood stabilizing drug
Carbamazepine
เฝ้าระวัง aplastic anemia, Hepatitis, steven-Johnson
Lithium
ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจ, ไต, Hypothyroid
Lithium
-
Mild(1.5-2) มีอาการมือสั่น พูดไม่ชัด คลื่นไส้อาเจียน การพยาบาล ดื่ม ORS ระวังการเสียเหงื่อ ติดตาม V/S
Moderate(2-2.5) มีอาการชัก สับสนได้ อาจหมดกสติ หัวใจเต้นผิดจังหวะ การพยาบาล ให้ IVF หยุดยา, ล้างท้อง
severe (มากกว่า 2.5) เกิด heart failure ได้ BP ต่ำ ไข้สูง ไตวาย การพยาบาล รีบหยุดยาและทำ Hemodialysis
Antipsychotic drug
กลุ่มเก่า(ลด dopamine)– ดูแลให้ได้รับยาลดอาการข้างเคียง ประเมินอาการ ง่วงซึม กล้ามเนื้อเกร็ง ความดันต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า อาการแพ้ ภาวะEPS Ex. Hadol, Chlorpromazine
กลุ่มใหม่(ลด dopamine+serotonin) – พบ EPS น้อยกว่ากลุ่มเก่า, ภาวะ Agranulocytosis, NMS Ex. Risperidone, Clozapine
ภาวะ EPS
1.Acute dystonia ผู้ป่วยจะมีอาการบิดเกร็งอย่างทันทีของกล้ามเนื้อในร่างกาย ทำให้มีอาการลิ้นแข็งพูด หรือกลืนลำบาก ตาเหลือก (oculogyric crisis) คอบิด (torticollis) หรือหลังแอ่น (opisthotonos)
2 Akathisia ผู้ป่วยจะรู้สึกกระวนกระวายใจ กระสับ กระส่าย ไม่สามารถอยู่นิ่งได้ อาจต้องขยับแขน ขา เดินไปมา หรือเคลื่อนไหวตลอดเวลา มักเกิด ในช่วง 2-3 สัปดาห์รกของของการได้รับยา
3 Parkinsonism ผู้ป่วยจะมีอาการกล้ามเนื้อแข็งเกร็ง มี cogwheel rigidity (tremor) เคลื่อนไหวช้า (bradykinesia) พบ perioral tremor ได้บ่อย แต่มักไม่พบ pill-rolling tremor เหมือนใน idiopathic parkinsonism มักเกิดในช่วง 4 สัปดาห์แรกของการได้รับยา
4 Tardive dyskinesia ผู้ป่วยจะมีการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมากกว่าปกติ และเกิดขึ้นซ้ำๆ โดยไม่ตั้งใจ โดยมีอาการสำคัญที่เรียกว่า buccolinguomasticatory triad คือ อาการดูด หรือ ขมุบขมิบปาก มี lateral jaw movement และมีเคี้ยวลิ้นม้วนไปมาในปากหรือ ใช้ลิ้นดุนแก้ม หากให้อ้าปาก ผู้ป่วยจะแลบลิ้นออกมาเอง นอกจากนนั้นยังมีอาการขยับนิ้ว บีบมือ คอบิดเอียง หรือกล้ามเนื้อมัดใหญ่ เคลื่อนไหวแบบ choreoathetoid พบในผู้ป่วยที่ได้รับยารักษาอาการทางจิตต่อเนื่องเป็นเวลานาน
ภาวะ NMS
ภาวะนี้จัดเป็นภาวะฉุกเฉินซึ่ง อาจทำให้ป่วยเสียชีวิตได้ มีอาการสำคัญ คือ muscle rigidity, hyperthermia และ autonomic instability และมักมี mental status change ตรวจเลือด พบ creatinine kinase (CPK) > 300 U/mL, white blood cell (WBC) > 15000 mm3 มัก พบในช่วงแรกของการเริ่มใช้ยาหรือ เมื่อ เพิ่มหรือ ลดขนาดของยา การรักษา หากสงสัยภาวะดังกล่าวควรหยุดยาทันที และอาจให้รับประทานยากลุ่ม dopamine agonist เช่น bromocriptine และยา dantrolene sodium ซึ่ง เป็นยา antispasticity รวมไปถึงเฝ้าระวังและป้องกัน ภาวะรุนแรงที่อาจเกิดขึ้น ได้ เช่น ไตวาย
Antianxiety drug
รักษาอาการวิตกกังวล เครียด
Ex. Benzodiazepines, Diazepam, Lorazepam
-
-
-
-
-
สิ่งแวดล้อม
จัดสิ่งแวดล้อมให้สถานที่มีความปลอดภัย บุคลากรเป็นมิตร ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม มีการจัดกิจกรรมบำบัด