Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 หลักการ แนวคิด ในการประเมินพฤติกรรมเด็กปฐมวัย - Coggle Diagram
บทที่1 หลักการ แนวคิด ในการประเมินพฤติกรรมเด็กปฐมวัย
ความหมายและความสำคัญของการประเมินพฤติกรรมเด็กปฐมวัย
พัฒนาการเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ เด็กแต่ละช่วงวัยมีการเจริญเติบโตและความต้องการในการเรียนรู็ที่แตกต่างกัน
หลักของการประเมินพฤติกรรมเด็กปฐมวัยมีดังนี้
4.ประเมินพัฒนาการตามสภาพจริง
3.ประเมินเป็นรายบุคคลสม่ำเสมอต่อเนื่อง
6.นำผลที่ได้จากการประเมินพัฒนาการไปใช้ในการ
พิจารณาจัดกิจกรรม
2.ประเมินพัฒนาการเด็กครบถ้วน
7.สรุปผลการประเมินพัฒนาการ
1.วางแผนการประเมินพัฒนาการอย่างเป็นระบบ
5.บันทึกพัฒนาการลงในสมุดบันทึกในกรณีต่ำกว่า3ขวบ
บันทึกลงในสมุดสุขภาพแม่และเด็ก
จุดมุ่งหมายของการประเมินพฤติกรรมเด็กปฐมวัย
3.การประเมินพฤติกรรมเด็กปฐมวัยต่างจากการประเมินผู้เรียนในระดับอื่นเนื่องจากมีข้อจำกัดเรื่องพัฒนาการ
การพูด การอ่าน การเขียน
4.การประเมินพัฒนาการไม่มีการตัดสินใจได้หรือตก
2.เพื่อประเมินวินิจฉัย และประเมินเพื่อการเรียนรู้
5.การประเมินไม่มีการเทียบเคียงกับผู้อื่นแต่จะเปรียบเทียบพัฒนาการของตัวเด็กที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงของตัวเด็กเอง
1.เพื่อศึกษาความก้าวหน้าของพัฒนาการเด็กปฐมวัย
6.การประเมินใช้การประเมินรายบุคคลในบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติไม่ตึงเครียด
ประเภทของการประเมินพฤติกรรมเด็กปฐมวัยแบ่งได้2ประเภท
การประเมินอย่างไม่เป็นทางการ
การประเมินแบบเป็นทางการ
บทบาทและปรัชชญาของการประเมินผลพัฒนาการเด็กที่มีผลต่อการจัดการเรียนการสอน
2.การประเมินพัฒนาการช่วยให้ผู้รู้แนวทางในการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กได้อย่างเหมาะสม
3.การประเมินพัฒนาการครูต้องศึกษาพฤติกรรมเด็ก บันทึกและสรุปพฤติกรรมเด็กเพื่อบันทึกลงในแบบประเมินพัฒนาการ
1.การประเมินผลพัฒนาการคือการนำข้อมูลที่เกี่ยวกับพัฒนาการมาสรุปเพื่อตัดสินใจจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กแต่ละด้าน
4.ก่อนประเมินพัฒนาการเด็กครูต้องทำการศึกษาพฤติกรรมเด็กเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง