Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด Pneumothorax - Coggle Diagram
ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด
Pneumothorax
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรค
เพศชาย มีแนวโน้มเกิดภาวะนี้สูงกว่าเพศหญิงมาก
อายุ 20-40 ปี เนื่องจากเป็นช่วงอายุที่เสี่ยงเกิดถุงลมในปอดแตกมากที่สุด
ลักษณะทางพันธุกรรม ภาวะ Pneumothorax บางชนิดอาจถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นได้
โรคปอด เช่น ปอดอุดกั้นเรื้อรัง เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยเสี่ยงเกิดรอยรั่วที่ปอดได้
การรักษา
การผ่าตัดโดยสอดกล้องเข้าไปภายในปอดเพื่อดูความเสียหาย หากอยู่ในระดับที่ซ่อมแซมได้
การเชื่อมเยื่อหุ้มปอด เพื่อช่วยให้เยื่อหุ้มรอบปอดทั้ง 2 ชั้นเชื่อมเข้าหากัน
การสอดท่อหรือเข็มเข้าไปในช่องปอด
การวินิจฉัยโรค
การตรวจพิเศษ
การตรวจภาพถ่ายรังสีของปอด
การตรวจด้วยอัลตราซาวนด์ (Ultrasonography)
การตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computerized tomography; CT scan)
การตรวจร่างกาย
การขยับตัวของทรวงอกลดลงในข้างที่มีลมรั่ว
การได้ยินเสียงหายใจเบาลง
เคาะทรวงอกได้เสียงโปร่งมากกว่าปกติ
พยาธิสภาพ
เยื่อหุ้มปอดด้านในฉีกขาด ทำให้อากาศสะสมอยู่ใน ช่องเยื่อหุ้มปอด เสียสภาพ ความดันลบ และการคืนตัวของปอด ขัดขวางการขยายตัวของปอด ขณะหายใจเข้า ทำให้เนื้อปอดแฟบ ใน Open pneumothorax มีความดันบวก ในช่องเยื่อหุ้มปอด และไปกดเนื้อปอด เสียความจุปอด ความยืดหยุ่นและสูญเสียการแลกเปลี่ยนอากาศ ส่วน Close pneumothorax มีอากาศเพิ่มขึ้นในเยื่อหุ้มปอด
อาการและอาการแสดง
เจ็บหน้าอกข้างเดียวกับที่มีลมรั่ว เหนื่อย หายใจไม่สะดวก แน่นหน้าอก
การพยาบาลที่สำคัญ
การพักรักษาตัวบนเตียง
ประเมิน Tube อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม ไม่เลื่อนหลุด ประเมิน Subcutanecus
ดูแลให้ระบบ Suction ด้วย Pressure 10-20 เซนติเมตร
ฟังปอดครั้ง เพื่อประเมิน การขยายตัวของปอด
ประเมินผู้ป่วยโดยเฉพาะลักษณะการหายใจ อัตราการหายใจ อาการแน่นหน้าอก หายใจลำบาก