Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล, Concept Design For Creative…
บทที่ 10 การจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ความหมาย
Literacy
ความสามารถในการอ่านการเขียนและทักษะทางตัวเลขนั้นไม่สามารถทำให้การดำเนินชีวิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพได้ในยุคดิจิทัล
Digital
Literacy
ความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือทางเทคนิคและเกี่ยวข้องกับความรู้ความสามารถพื้นฐานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายสารสนเทศในการทางาน
ลักษณะของการเรียนรู้ Digital
ผู้สอนออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีสถานการณ์ให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
ผู้สอนทำหน้าที่โค้ช ให้คำชี้แนะ ให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยบูรณาการคุณธรรมจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในกิจกรรมการเรียนรู้
พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ทักษะกับการเรียนรู้ Digital
การรู้สารสนเทศ (Information literacy)
การรู้สังคม (Social literacy)
การรู้เทคโนโลยี (Technology literacy)
การรู้การสื่อสาร (Communication literacy)
การรู้สื่อ (Media Literacy)
การรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น (Visual literacy)
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ Digital
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย
เตรียมความพร้อมทรัพยากรเทคโนโลยี
ออกแบบสถานการณ์ที่ต้องใช้เทคโนโลยี
จัดระบบขั้นตอนกิจกรรมการเรียนรู้
แนวทางการจัดการเรียนรู้ Digital
กระตุ้นให้แสวงหาเทคโนโลยีใหม่ๆ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี
เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมการใช้เทคโนโลยี
สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้และการใช้เทคโนโลยี
เปิดพื้นที่การใช้เทคโนโลยี
การประเมินการเรียนรู้ Digital
สนับสนุนการวัดและประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนบน
พื้นฐานแนวคิดการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ใช้การประเมินเป็นสิ่งกระตุ้นศักยภาพของผู้เรียน (assessment for improvement) ไม่ใช่ประเมินเพื่อตัดสินผู้เรียน (assessment for judgment)
สนับสนุนการประเมินการเรียนรู้มีความหลากหลาย เช่น การประเมินผลงานกลุ่มผ่าน Software ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนหรือแม้แต่การให้ข้อเสนอแนะผ่าน Application ต่างๆจะช่วยให้ผู้เรียนทราบผลการประเมินอย่างรวดเร็วแบบ Real time feedback
การประเมินตนเองใน New normal
คุณค่าของการประเมินตนเอง
ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการสะท้อนคิด
ผู้เรียนได้กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้
ที่เหมาะสมกับตนเอง
ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการประเมินตนเอง
ผู้เรียนได้สะท้อนผลการเรียนรู้และทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ส่งเสริมคุณลักษณะ
บุคคลแห่งการเรียนรู้
ผู้เรียนได้รับการกระตุ้นวินัยในการเรียนรู้
บทบาทของผู้สอน
กระตุ้นผู้เรียนให้เห็นคุณค่าของการประเมินตนเอง
อำนวยความสะดวกด้านเครื่องมือประเมิน
สร้างบรรยากาศความไว้เนื้อเชื่อใจ (Trust)
ตรวจสอบผลการประเมินตนเองของผู้เรียนแล้วให้ข้อมูลย้อนกลับ
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสะท้อนคิดและถอดบทเรียน
ความสำคัญ
การประเมินตนเองของผู้เรียนจะเป็นวิธีการหลักของ
การประเมินการเรียนรู้ใน New normal
การประเมินตนเองของผู้เรียนมีจุดเน้น คือ การให้ผู้เรียนใช้การประเมินตนเองเป็นกระบวนการเรียนรู้ชนิดหนึ่ง (Assessment as Learning)
การประเมินการเรียนรู้ใน New normal
การประเมินเชิงรุก
(Active assessment)
ประเมินตนเองทันที
เพิ่มโอกาสการเรียนรู้
การประเมินเชิงรับ (Passive assessment)
รอให้ผู้สอนประเมิน
เสียโอกาสการเรียนรู้