Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การรักษาโรคเบื้องต้นระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
บทที่ 11
การรักษาโรคเบื้องต้นระบบทางเดินหายใจ
หอบเหนื่อยง่าย
ได้ยินเสียงcrepitation
หอบหลังให้ IV rate เร็วๆ
ปอดบวมน้ำ
หยุด IV ให้ furosimide IV
อาการไม่ดีขึ้น
Refer ด่วน
มีประวัติ โรคหัวใจ DM HT
หัวใจวาย
Furosimide
อาการไม่ดีขึ้น
Refer ด่วน
มีอาการหอบเกิดขึ้นทันที ในผู้ที่สำลักสิ่งแปลกปลอม
ปฐมพยาบาล
Refer ด่วน
บวม นอนราบไม่ได้
หัวใจวาย
ให้ furosemide
Refer ด่วน
มีไข้
ไข้ร่วมหอบ
เจ็บหน้าอกรุนแรง
Refer ด่วน
หลอดลมใหญ่เอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง หรือไม่ได้ยินเสียงหายใจ
ปอดข้างใดข้างหนึ่งเคาะโปร่ง
ปอดทะลุ
Refer ด่วน
เคาะปอดข้างใดข้างหนึ่งทึบ
ได้รับบาดเจ็บที่หน้าอก
เลือดออกในโพรงเยื่อหุ้มปอด
refer ด่วน
ไม่ได้รับบาดเจ็บ
ภาวะมีหนอง/มีน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอด
Refer ด่วน
ได้ยินเสียง rhonchi
Refer ด่วน
ได้ยินเสียง wheezing
ปอดเคาะโปร่ง
ถุงลมโป่งพอง
มีอาการหอบหลังกินยาหรือถูกสัตว์ต่อย
อาการแพ้ยาหรือแพ้พิษสัตว์
หืด
ไอมีเสมหะ เป็นหนอง
หลอดลมพอง
ไอมีเสมหะหลังไข้หวัด
หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
คัดจมูก น้ำมูกไหล
มีน้ำมูกใส
จามบ่อย คัดจมูกหรือคันคอ หรือมีประวัติภูมิแพ้
หวัดภูมิแพ้
ให้ยาแก้แพ้ แนะนำให้หลีกเลี่ยงสิ่งที่แพ้ ออกกำลังกายเป็นประจำ
ไข้หวัด
รักษาตามอาการ
มีไข้
มีไข้ร่วมกับน้ำมูกไหลหรือไอ
น้ำมุกข้นเหลืองหรือเขียวใน 24 ชม.หรือหายใจมีกลิ่นไหม
เยื่อบุจมูกอักเสบ
ให้ Amoxicilin
ถ้าไม่ดีขึ้น 1 Wk.
Refer ด่วน
มีอาการเรื้อรังหรือปวดและกดเจ็บตรงหัวคิ้วหรือใต้ตา
โพรงจมูกและไวนัสอักเสบ(Rhinosinusitis)
ให้ยาแก้ปวด Amoxicilin
ไม่ดีขึ้น 1 Wk.
Refer
ในเด็กที่นำสิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก
นำสิ่งแปลกปลอมออก
ให้ amoxicilin
ถ้าสิ่งแปลกปลอมออกยาก
Refer
ตรวจพบติ่งก้อนเนื้อในรูจมูก
ติ่งเนื้อเมือกจมูก
Refer ใน1 เดือน
ไข้ร่วมกับน้ำมูกหรือไอ
ปวดหูหรือหูอื้อ
หูขั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน(Acute otitis media)
ให้Paracetamol/Amoxicilin-Erythromycin
อาการไม่ดีขึ้นใน 3 วัน
Refer
กดเจ็บบริเวณไซนัส
ทอนซิลโตหรือเป็นหนอง
โรคทอนซิลอักเสบ(Tonsilliis)
ให้Paracetamol/Amoxicilin/Erythromycin
อาการไม่ดีขึ้นใน 3 วัน
Refer
อาการดีขึ้น
ให้ ATB ครบ 10 วัน
ไอก้องและหายใจมีเสียง stidor
กลุ่มอาการครูพ(croup syndrome) เป็นกลุ่มโรคที่มีทางเดินหายใจส่วนต้นอุดกั้นเฉียบพลัน จากการติดเชื้อจัดอยู่ในกลุ่มของ LRI
ให้ Paracetamol
ถ้าอาการหอบ กลืนลำบาก ซึม กระสับกระส่าย ขาดน้ำ มีแผ่นเยื่อสีเทาในลำคอ
Refer
ให้ดื่มน้ำมากๆ สูดไอน้ำอุ่น
น้ำหนักลด หรือไข้เกิน 7 วัน
Refer ภายใน 3 วัน
หอบ
ไข้ร่วมกับหอบ
ไอมีเสมหะเขียว หรือฟังLung ได้ยินเสียง
crepitation หรือ rhonchi
หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน(acute brochitis หรือ acute tracheobronchitis) ปอดบวมหรือโรคปอดอักเสบ(pneumonia)
ให้Paracetamol/Amoxicilin/Erythromycin
ถ้าไม่ดีขึ้น 48 ชม.หรือมีอาการหอบตามมาให้ Refer
พบเด็กที่ไม่ฉีด DTPและมีประวัติใกล้ชิดเด็กที่เป็นไอกรน
โรคไอกรน(pertussis)
ให้Paracetamol/Erythromycin
อาการไม่ดีขึ้น 4 วัน/หอบ
Refer
ปวดเมื่อย หรือมีประวัติสัมผัสผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่
ไข้หวัดใหญ่
รักษาตามอาการ
ถ้าเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาการแทรกซ้อน
Refer
ไม่มีประวัติการสัมผัสผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่
ไข้หวัด
รักษาตามอาการ
ถ้ามีน้ำมูกมาก
เด็กอายุ 5 ปี
ใช้ลูกยางดูดออก
เด็กโตหรือผู้ใหญ่
ให้ chlorpheniramine 2-3วัน เมื่อน้ำมูกแห้งแล้วหยุดกิน
ถ้าไข้ไม่ลดใน 4 วันหรือมีประวัติสัมผัสสัตว์ปีก/ผู้ป่วยไข้หวัดนก
Refer
ไอเป็นเลือด
ไอ
ไข้ร่วมกับหอบ
เคาะปอดข้างใดข้างหนึ่งได dullness และฟังปอดไม่ได้ยินเสียงหายใจ
ภาวะมีหนองหรือน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอด
Refer ด่วน
ไอเสียงก้อง หายใจได้ยิน stidor
มีแผ่นเยื่อสีเทา/เหลืองปนเทาในลำคอ
คอตีบ(Diphtheria)
Refer ด่วน
ฟังปอด ได้ยิน crepitation หรือ decreased breath sound เฉพาะตำแหน่ง
Refer ด่วน
โรคปอดอักเสบ(Pneumonitis)
หลอดลมฝอยอักเสบ(ฺBronchiolitis)
ฟังปอดได้ยิน wheezing หรือได้ยาขยายหลอดลมแล้วทุเลา
มีประวัติการไอเรื้อรัง โรคหืด ถุงลมโป่งพอง หลอดลมพองมาก่อน
โรคหืด หรือโรคหอบหืด(Asthma) ถุงลมโป่งพอง(Emphysema) ที่มีการติดเชื้อแทรกซ้อน
ให้ paracetamol ยากระตุ้นเบต้า 2(beta 2 agonists)
Amoxicilin/ Erythromycin
ถ้าอาการไม่ดีขึ้น 24 ชม. หอบมากขึ้น ตัวเขียว ขาดน้ำ
Refer
พบในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี
หลอดลมฝอยอักเสบ(Bronchiolitis)
ให้ paracetamol ยากระตุ้นเบต้า 2(beta 2 agonists) Amoxicilin/ Erythromycin
ถ้าอาการไม่ดีขึ้น 24 ชม. หอบมากขึ้น ตัวเขียว ขาดน้ำ
Refer
Refer ด่วน
ไอ
มีเสมหะ
หลอดลมอักเสบ
เหนื่อยง่ายหรือมีเสมหะเรื้อรังนานเป็นเดือนเป็นปี
หลอดลมพอง
ให้งดสูบบุหรี่ แอลกอฮอล์ ดื่มน้ำอุ่น ให้ Amoxycilin/Erytomycin/ยาขยายหลอดลม
ถ้าหอบมี wheezing ไม่ดีขึ้นใน 1 Wk.
Refer
ปอดเคาะโปร่ง เสียงหายใจเบา
ถุงลมโป่งพอง
มีประวัติสูบบุหรี่จัด ไอมีเสมหะสีเหลืองหรือสีเขียวหรือมี rhonchi
หลอดลมอักเสบ
ไอเป็นเลือด
สุขภาพแข็งแรง
หลอดลมพอง/หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
ให้ยา Amoxycilin/Erytomycin ให้ดื่มน้ำอุ่นมากๆ
ไม่ดีขึ้นใน 3 วันหรือหอบ น้ำหนักลด ไข้เกิน 7 วัน ถ้ากินยาต่ออีก 7 วันไม่ดีขึ้น
Refer
ไอไม่เรื้อรัง
หลอดลมอักเสบ
สุขภาพไม่แข็งแรง
Referใน 1 Wk.
หอบ
น้ำหนักลด
Referใน 1 Wk.
HIV
วัณโรคปอด
มะเร็งปอด
โรคเมลิออยโดสิส(Melioidosis)
มีไข้
ไข้ร่วมกับมีน้ำมูกหรือไอ
ไอเสียงก้อง หายใจเข้ามีstidor ตอนกลางคืน ในเด็กอายุ 6 เดือนถึง 3 ปี
spasmodic croup
รักษาตามอาการ
ไม่ดีขึ้นใน 1 Wk. หรือหายใจหอบ สงสัยสำลักสิ่งแปลกปลอม
Refer
ไอนานกว่า 2 Wk.
คัดจมูก คันคอ จามบ่อยเวลาถูกอากาศเย็น หรือฝุ่น หรือขนสัตว์
หวัดภูมิแพ้
ไอติดๆกันเป็นชุดๆ ในเด็กที่มีประวัติอยู่ใกล้ชิดกับเด็กที่เป็นไอกรน
ไอกรน
ไอเฉพาะช่วงหลังตื่นนอนหรือหลังกินอาหาร เป็นๆหายๆเรื้อรัง หรือมีอาการจุกแน่น แสบตรงลิ้นปี่หรือเรอเปรี้ยวร่วมด้วย
กรดไหลย้อน